Page 49 -
P. 49

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว





                ตารางที่ 4.2 (ต่อ)

                          ข้อก าหนด                                 เกณฑ์ที่ก าหนด
                7. การจัดการกระบวนการผลิต      ดูแลและปฏิบัติ ตามขั้นตอนที่ก าหนดไว้ใน แผนควบคุมการผลิตของ

                เพื่อให้ได้ผลิตผลคุณภาพ        พืชแต่ละชนิด

                8. การเก็บเกี่ยวและการปฏิบัติ  - เก็บเกี่ยวผลผลิตในระยะที่เหมาะสม ใช้อุปกรณ์และภาชนะบรรจุที่
                หลังการเก็บเกี่ยว              สะอาด

                                               - ก่อนการขนย้ายวางผลผลิตบนวัสดุรองพื้นที่สะอาด ปูองกันการ

                                               ปนเปื้อน
                                               - คัดแยกผลผลิตที่ไม่มีคุณภาพ หรือมีศัตรูพืชปะปนออกจากผลผลิต

               ที่มา: กรมวิชาการเกษตร (2553)
                       กรมวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เป็นหน่วยงานที่ท าหน้าที่ตรวจรับรองระบบการ

               จัดการ GAP ซึ่งจะสอดคล้องกับ GAP สากล เพื่อเป็นมาตรฐานในการผลิตพืชของประเทศไทย โดยมีการจัดท า

               คู่มือการเพาะปลูกตามหลัก GAP  ในพืชที่ส าคัญจ านวน 24  ชนิด  ดังรายการในตารางที่ 4.3 (กรมวิชาการ
               เกษตร, 2553)


               ตารางที่ 4.3 พืชที่มีการจัดท าคู่มือการเพาะปลูกตามหลักการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดี

                   ประเภทพืช                                      ชนิดพืช

               ผลไม้               ทุเรียน ล าไย กล้วยไม้ สับปะรด ส้มโอ มะม่วง ส้มเขียวหวาน

               พืชผัก              มะเขือเทศ หน่อไม้ฝรั่ง คะน้า หอมหัวใหญ่ กะหล่ าปลี พริก ถั่วฝักยาว ถั่วลันเตา
                                   ผักกาดขาวปลี ข้าวโพดฝักอ่อน หัวหอมปลี หัวหอมแบ่ง

               ไม้ดอก              กล้วยไม้ตัดดอก ปทุมมา

               พืชอื่นๆ            กาแฟโรบัสต้า มันส าปะหลัง ยางพารา
               ที่มา: กรมวิชาการเกษตร (2553)


                       4.3.3 การก าหนดค่าปริมาณสูงสุดของสารพิษตกค้างในผลิตผลเกษตร (Maximum Residue
               Limits: MRLs)


                       ค่าปริมาณสูงสุดของสารพิษตกค้างในผลิตผลเกษตร (MRLs) คือระดับปริมาณสารพิษตกค้างสูงสุดใน
               อาหารที่ยอมรับให้มีได้ในอาหาร ซึ่งจะก าหนดไว้เป็นหน่วยมิลลิกรัมของสารพิษตกค้างต่อกิโลกรัมของ

               ผลิตภัณฑ์อาหาร โดยองค์การอาหารและเกษตรแห่งสหประชาชาติ และองค์การอนามัยโลก ได้จัดตั้ง
               คณะกรรมาธิการโครงมาตรฐานอาหาร (Codex Alimentarius Commission: Codex) ที่ก าหนดมาตรฐาน

               อาหารสากลเป็นค่า Codex  MRL  เพื่อให้ประเทศต่างๆ ใช้เป็นมาตรฐานในการก าหนดค่าปริมาณสูงสุดของ

               สารพิษตกค้างในผลผลิตเกษตร ซึ่งประเทศไทยได้มีการก าหนดค่าปริมาณสูงสุดของสารพิษตกค้างในผลผลิต
               เกษตร โดยความร่วมมือของ ส านักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ ส านักวิจัยพัฒนาปัจจัยการ





                                                           34
   44   45   46   47   48   49   50   51   52   53   54