Page 44 -
P. 44

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว





               ตารางที่ 4.1 หน่วยงานที่ควบคุมดูแลการใช้วัตถุอันตรายตามพระราชบัญญัติวัตถุอันตราย

                           ประเภทวัตถุอันตราย                             หน่วยงานที่ควบคุม

               สารเคมีอันตรายทางอุตสาหกรรม                                   กรมโรงงาน

               ยาและสารเคมีที่ใช้ด้านสาธารณสุข                          ส านักงานอาหารและยา
               สารเคมีก าจัดศัตรูพืช                                      กรมวิชาการเกษตร

               ที่มา: ส านักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา (2535)

                       บทบาทที่ส าคัญของพระราชบัญญัติวัตถุอันตราย คือ การก าหนดหน้าที่ของคณะกรรมการวัตถุ
               อันตราย โดยการน าของปลัดกระทรวงอุตสาหกรรม พร้อมทั้งก าหนดกลไกการควบคุมวัตถุอันตราย ตั้งแต่การ

               ขึ้นทะเบียน การท าฉลากค าเตือน การน าเข้าส่งออก และการครอบครอง อีกทั้งยังก าหนดหน้าที่ ความผิด

               และการลงโทษ หากมีการฝุาฝืนกฎหมายอีกด้วย โดยการแบ่งวัตถุอันตรายเป็น 4 ประเภทตามความอันตราย
               (ส านักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา, 2535) ได้แก่

                     วัตถุอันตรายชนิดที่ 1 คือ วัตถุอันตรายที่การผลิต การน าเข้า การส่งออกหรือการมีไว้ในครอบครองต้อง

               ปฏิบัติตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่ก าหนด
                     วัตถุอันตรายชนิดที่ 2 คือ วัตถุอันตรายที่การผลิต การน าเข้า การส่งออกหรือการมีไว้ในครอบครองต้อง

               แจ้งให้พนักงานทราบก่อนและต้องปฏิบัติตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่ก าหนด
                     วัตถุอันตรายชนิดที่ 3 คือ วัตถุอันตรายที่การผลิต การน าเข้า การส่งออกหรือการมีไว้ในครอบครองต้อง

               ได้รับใบอนุญาต

                     วัตถุอันตรายชนิดที่ 4  คือ วัตถุอันตรายที่ห้ามมีการผลิต การน าเข้า การส่งออกหรือการมีไว้ใน
               ครอบครอง

                     การผลิต หรือน าเข้าวัตถุอันตรายชนิดที่ 2 หรือชนิดที่ 3 ต้องน ามาขอขึ้นทะเบียน เพื่อให้ออกใบอนุญาต
               แล้วจึงจะสามารถผลิตหรือน าเข้าได้ ซึ่งสารเคมีก าจัดศัตรูพืชจึงจัดเป็นวัตถุอันตรายชนิดที่ 3  ที่ต้องมีการขึ้น

               ทะเบียน ภายใต้การควบคุมของกรมวิชาการเกษตร

                     กรมวิชาการเกษตรมีหน้าที่หลักในการขึ้นทะเบียนสารเคมีก าจัดศัตรูพืชในประเทศไทย โดยมีการขึ้น
               ทะเบียน 3 ขั้นตอน คือ (ส านักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา, 2535)

                     1. การทดสอบเบื้องต้นเกี่ยวกับประสิทธิภาพและพิษวิทยา ในห้องทดลองที่มีมาตรฐานแนวปฏิบัติด้าน

                        แรงงานที่ดี (Good Labor Practice: GLP) ของ OECD
                     2. การทดสอบในแปลงสาธิต เพื่อทราบข้อมูลการตกค้าง ความรุนแรงของพิษ และก าหนดว่าสารเคมี

                        ชนิดนั้นควรใช้กับพืชชนิดใด
                     3.  ประเมินข้อมูลต่างๆเพื่อทราบประสิทธิภาพ ความปลอดภัยต่อมนุษย์ สิ่งแวดล้อม และพิษเรื้อรัง

                        ระยะยาว 2 ปี

                     พระราชบัญญัติวัตถุอันตราย มีการปรับปรุงแก้ไข เมื่อปีพ.ศ. 2551 โดยการยกเลิกทะเบียนวัตถุอันตราย
               ทั้งหมดภายในเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2553  เนื่องจากที่ผ่านมาไม่มีการก าหนดอายุทะเบียน ส่งผลให้มีการขึ้น





                                                           29
   39   40   41   42   43   44   45   46   47   48   49