Page 43 -
P. 43
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
รายได้ให้แก่เกษตรกร แต่การใช้สารเคมีเกินความจ าเป็นและไม่ถูกต้อง ท าให้เกิดผลกระทบด้านต่างๆ ทั้งด้าน
สุขภาพของเกษตรกรและผู้บริโภค ด้านสิ่งแวดล้อม รวมทั้งด้านเศรษฐกิจอย่างมากมายตามมา (สุวรรณา
ประณีตวตกุล และคณะ, 2554; สุวรรณา ประณีตวตกุล และคณะ, 2557)
ปริมาณ (ตัน)
180,000
160,000
140,000
120,000
100,000
80,000
60,000
40,000
20,000
0 ปี (พ.ศ.)
2553 2554 2555 2556 2557 2558
สารก าจัดวัชพืช สารก าจัดแมลง สารปูองกันและก าจัดโรคพืช อื่นๆ
ที่มา: กรมวิชาการเกษตร (2558)
ภาพที่ 4.1 ปริมาณการน าเข้าสารเคมีทางการเกษตร ปีพ .ศ. 2553-2558
4.2 กฎระเบียบและข้อบังคับที่เกี่ยวข้องกับการจัดการศัตรูพืช
จากการตรวจเอกสารด้านกฎระเบียบและข้อบังคับที่เกี่ยวข้องในประเทศไทย พบว่า มีเอกสารหลักอยู่
2 รายการ ได้แก่ พระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ.2535 แก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ. 2551 และยุทธศาสตร์เพื่อการ
จัดการสารเคมีแห่งชาติ ฉบับที่ 4 พ.ศ. 2555-2564 มีรายละเอียด ดังนี้
4.2.1 พระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ.2535 แก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ. 2551
พระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ.2535 เป็นกฎหมายที่ใช้ควบคุมวัตถุอันตรายทุกประเภท ซึ่งวัตถุ
อันตรายจากถูกแบ่งเป็นกลุ่มตามการใช้ เช่น สารเคมีอันตรายทางอุตสาหกรรม ยาและสารเคมีที่ใช้ด้าน
สาธารณสุข สารเคมีก าจัดศัตรูพืช ซึ่งจะอยู่ภายใต้การควบคุมของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ สารเคมีอันตราย
ทางอุตสาหกรรม ควบคุมโดยกรมโรงงาน ยาและสารเคมีที่ใช้ด้านสาธารณสุข ควบคุมโดยส านักงานอาหาร
และยา และสารเคมีก าจัดศัตรูพืช ควบคุมโดยกรมวิชาการเกษตร (ตารางที่ 4.1)
28