Page 51 -
P. 51
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
อยู่ตั้งแต่ร้อยละ 30-80 ซึ่งอันตรายที่เกิดขึ้นจะส่งผลกระทบต่อมนุษย์ในระดับที่แตกต่างกัน ตั้งแต่การเจ็บปุวย
เล็กน้อย ไปจนถึงขั้นเสียชีวิต โดยสามารถควบคุมและปูองกันความเสี่ยงเหล่านี้ได้โดย เกษตรกรควรหันมาใช้
สารปูองกันศัตรูพืชที่มีสารพิษตกค้างสั้น และเก็บเกี่ยวผลผลิตในระยะเวลาที่ก าหนด จึงมีการก าหนดมาตรการ
ความปลอดภัยทางอาหารที่ผู้บริโภคสามารถรับรู้ และติดตามแหล่งที่มาของอาหาร โดยการจัดตั้งศูนย์กลาง
สถิติและข้อมูลด้านอาหารปลอดภัย ในการสื่อสาร ตรวจจับ เฝูาระวัง ร้องเรียน แจ้งเตือน ข้อมูลด้านอาหาร
ปลอดภัย โดยการควบคุมของเครือข่ายความปลอดภัยด้านอาหารระหว่างประเทศ หรือ The International
Food Safety Authorities Network: INFOSAN ผ่าน Mr. Food safety
ตารางที่ 4.4 ข้อมูลด้านความปลอดภัยทางอาหาร
ประเภทของข้อมูล รายการข้อมูลตามมาตรการความปลอดภัยทางอาหาร
1.ข้อมูลภาคการผลิต ข้อมูลบ่งชี้ ที่ท าให้ประชาชนปลอดภัย จากการปนเปื้อนสารเคมีในอาหารภาค
การผลิต ได้มาตรฐาน ครอบคลุมและรักษาคุณภาพมาตรฐาน
2.ข้อมูลการปรับแต่ง ประกอบ ข้อมูลบ่งชี้ว่า สถานปรับแต่ง ประกอบและโรงงาน มีกรรมวิธีที่ปลอดภัย ได้
และโรงงาน มาตรฐาน ครอบคลุม ตรวจสอบ เฝูาระวังและรักษาคุณภาพมาตรฐาน
3.ข้อมูลแหล่งจ าหน่าย ข้อมูลบ่งชี้ว่า ตลาดบน ตลาดล่าง มีมาตรฐาน มีการติดตามปรับปรุงคุณภาพ
เฝูาระวัง และสื่อสารให้มีการจ าหน่ายอาหารทุกชนิดที่สะอาด ปลอดภัย
4.ข้อมูลแหล่งบริการ มีข้อมูลบ่งชี้ว่า แหล่งบริการทุกชนิด มีมาตรฐานมีการติดตามปรับปรุงคุณภาพ
เฝูาระวัง และสื่อสารให้มีการจ าหน่ายอาหารทุกชนิดที่สะอาด ปลอดภัย
5.ข้อมูลผู้บริโภค มีข้อมูลบ่งชี้ว่า ผู้บริโภค มีสถานะสุขภาพจาก อัตราปุวย ตาย พฤติกรรมการ
บริโภค ทางเสือก การสื่อสาร และการแจ้งข้อมูลด้านอาหารปลอดภัย
6.ข้อมูลการด าเนินงานเชิงระบบ มีข้อมูลบ่งชี้ ถึงการด าเนินงานเชิงระบบคุณภาพของพื้นที่ มีการระเมิน การ
และพื้นที่ รับรอง การก ากับ และการรักษามาตรฐาน ทั้งในและต่างประเทศ
ที่มา: ส านักส่งเสริมและสนับสนุนอาหารปลอดภัย (2558)
4.4 เครื่องมือทางเศรษฐศาสตร์ในการจัดการศัตรูพืชในประเทศไทย
จากการตรวจเอกสารด้านเครื่องมือทางเศรษฐศาสตร์ในการจัดการศัตรูพืชในประเทศไทย พบว่า มี
เพียงร่างพระราชบัญญัติเครื่องมือทางเศรษฐศาสตร์ในการจัดการสิ่งแวดล้อม (มิ่งสรรพ์ ขาวสะอาด และกอบ
กุล รายะนาคร, 2552) มีเนื้อหาโดยย่อ ดังนี้
ร่าง พ.ร.บ. เครื่องมือทางเศรษฐศาสตร์เพื่อการจัดการสิ่งแวดล้อม
จากประเด็นการละเว้นภาษีการน าเข้าสารเคมีอัตราร้อยละ 5 ตั้งแต่ปีพ.ศ. 2534 ที่ผ่านมา พร้อมทั้ง
ละเว้นภาษีมูลค่าเพิ่มในปีถัดมา ส่งผลให้เกิดการใช้สารเคมีก าจัดศัตรูพืชเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ก่อให้เกิด
ผลกระทบภายนอกจากสารเคมีก าจัดศัตรูพืช ที่มีผลต่อสุขภาพของเกษตรกร ผู้บริโภค และส่งผลกระทบต่อ
สิ่งแวดล้อม ท าให้มีการผลักดันให้เกิดการเก็บภาษีอีกครั้งผ่านร่างพระราชบัญญัติเครื่องมือทางเศรษฐศาสตร์
36