Page 51 -
P. 51
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
23
2.3 ผลกระทบของโลกาภิวัตน
โลกาภิวัตน เปนคําศัพทเฉพาะที่บัญญัติขึ้นเพื่อตอบสนองปรากฏการณของสังคมโลกที่
เหตุการณทางเศรษฐกิจ การเมือง สิ่งแวดลอม และวัฒนธรรมที่เกิดขึ้นในสวนหนึ่งของโลก สงผล
กระทบอันรวดเร็วและสําคัญตอสวนอื่นๆของโลก (พจนานุกรมราชบัณฑิตยสถาน 2542) โลกาภิ
วัตนที่ผูคนสวนใหญคิดวานําความเจริญมาให ไดสรางผลกระทบทั้งทางลบและทางบวกกับผูคน
มากมายแมกระทั่งครัวเรือนเกษตรกร งานศึกษาที่เกี่ยวของกับการเปลี่ยนแปลงทั้งดานเศรษฐกิจ
และสังคมที่มาจากการพัฒนาเพื่อใหเกิดความเจริญอยางตอเนื่องอาทิเชน ภัทธนันท ไชยประภา
(2542) สัญญา ศรีคงทอง (2546) ผลการศึกษาที่ไดเปนไปในแนวทางเดียวกันคือวา ดานฐานะ
ทางเศรษฐกิจ ทําใหชาวบานมีรายไดสูงขึ้นจากการเปลี่ยนแปลงเศรษฐกิจของชุมชน เชน การ
เปลี่ยนแปลงการประกอบอาชีพหรือปรับปรุงอาชีพของชาวบานในชุมชน ชาวบานมีรายจายสูงขึ้น
เนื่องจากความตองการในการบริโภคมีมากขึ้น เชน จากเครื่องอุปโภคบริโภค จากสิ่งอํานวยความ
สะดวก นอกจากนี้ ชาวบานมีภาระหนี้สินสูงขึ้น เชน จากการใชเครื่องมือในการผลิตที่ทันสมัย
ยิ่งขึ้น ทําใหชาวบานตองลงทุนสูงมีการนําเทคโนโลยีเขามาใชในการผลิตสงผลใหตนทุนการผลิต
สูงขึ้น มีรายจายในการผลิตเพิ่มมากขึ้นและเกิดภาระการเปนหนี้สิน มีการกูหนี้ยืมมากขึ้น
สอดคลองกับสุริชัย หวันแกว (2553) กลาววา การเปลี่ยนแปลงทางสังคม มีสาเหตุมาจากปจจัย
ปจจัยทางเศรษฐกิจ เนื่องจากมนุษยตองทํามาหากิน ดวยเหตุความตองการทางเศรษฐกิจเหลานี้
เองของมนุษยอาจกอการเปลี่ยนแปลงได เชน เกษตรกรรม และอุตสาหกรรมเพื่อการสงออก
ปญหาทางเศรษฐกิจที่มาพรอมกับโลกาภิวัตน หรือการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอยาง
ตอเนื่องคือเกษตรกรผูปลูกขาวตองเผชิญกับการมีรายไดไมพอกับรายจายทั้งนี้เพราะตนเหตุของ
ปญหาเกิดจาก“ความตองการ” ในระยะเริ่มตนของปจจัย 4 เพื่อความอยูรอดแตเมื่อปจจัย 4 ถูก
เติมเต็มก็จะกลายเปนตองการสิ่งที่นอกเหนือจากปจจัย 4 ซึ่งอาจจะไมจําเปนมากนักเชนเครื่อง
อํานวยความสะดวกในครัวเรือน ทั้งหมดเปนไปเพื่อใหตนเองมีความสุขความสบายมากยิ่งขึ้นจน
บางครั้งอาจกลายเปนความฟุงเฟอ ดังนั้นทรัพยากรทางการเงินที่เปนสื่อกลางในการนํามา
แลกเปลี่ยนเปนทรัพยากรที่ตองดิ้นรนหาที่ปรากฏในวิธีการที่หลากหลายทั้งรับจางนอกภาค
การเกษตร ทํางานหนักเพิ่มมากขึ้น ลงทุนในระบบผลิตมากขึ้น สวนใหญเปนไปในลักษณะกูยืม
สงผลใหคานิยมและพฤติกรรมการใชชีวิตเปลี่ยนแปลงไปเปนที่มาของรายจายไมสมดุลกับรายได
สงผลใหขีดความสามารถในการพึ่งพาตนเองลดลง สุดทายทางออกที่เหลือคือรอคอยภาครัฐให
ความชวยเหลือ
ในสภาพที่การดํารงชีวิตที่พึ่งพิงระบบตลาดซึ่งเปนปจจัยภายนอกที่เกษตรกรไมสามารถ
ควบคุมไดหรือควบคุมไดยากนั้น ทางออกคือเกษตรกรตองปรับวิธีคิดที่สงผลตอการเปลี่ยนแปลง
พฤติกรรมการดํารงชีวิต ทั้งในระบบการผลิตที่ตองทบทวนวิธีการลงทุนดวยการกูยืมมาลงทุนกอน
แลวคอยสงใชทีหลัง และระบบการดํารงชีวิตที่เนนบริโภคโดยเฉพาะสิ่งของที่เปนเครื่องอํานวย
ความสะดวกในลักษณะที่เหมาะสมกับฐานะทางเศรษฐกิจ โดยการวางแผนการใชจายเงิน