Page 54 -
P. 54
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
26
อีกทั้งงานวิจัยของ สําราญ สรุโณ (2545 : บทคัดยอ) ไดศึกษากระบวนการปรับปรุง
การผลิตเพื่อการดํารงชีพอยางยั่งยืนของเกษตรกรที่ทํานาเปนอาชีพหลัก พื้นที่บานนาพรวน
ตําบลทาหิน อําเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา พบวาปจจัยที่มีผลตอความสําเร็จในการปรับปรุงการ
ผลิตที่นําไปสูการดํารงชีพอยางยั่งยืนของเกษตรกรที่ทํานาเปนอาชีพหลักเกษตรกรใชยุทธวิธี
ดํารงชีพดวยการผลิตขนาดเล็กที่หลากหลายมีกิจกรรมการผลิตเฉลี่ย 5-6 กิจกรรม สาเหตุหลัก
ของการปรับปรุงการผลิตเพื่อเพิ่มรายได รองลงมาเพื่อเพิ่มผลผลิตอาหาร ผลลัพธจากการ
ปรับปรุงการผลิต สวนใหญทํารายไดและจํานวนผลผลิตอาหารเพิ่มขึ้น ความเปนอยูดีขึ้น ความ
มั่นคงและรายไดเพิ่มขึ้น ความสามารถในการใชหนี้มากขึ้น ขาดเงินใชจายลดลง แตความเสียหาย
จากศัตรูพืช ราคาผลผลิตตกต่ําไมลดลง สภาพดิน จํานวนสัตวพืชและปาไมลดลง ปจจัยตนทุนที่มี
ผลตอความสําเร็จของการปรับปรุงการผลิตนําไปสูการดํารงชีพอยางยั่งยืนของเกษตรกรบาน
พรวนคือ ความเหมาะสมของดินทําการเกษตร จํานวนพื้นที่รองสวนผลไม การเปดรับขาวสาร
การเกษตร ศักยภาพความเปนผูนํา จํานวนการผลิตโค และพื้นที่ปลูกพืชฤดูแลงในนาขาว
นอกจากนี้การศึกษาวิจัยเพื่อแกปญหาความยากจน โดยนําเอาพระราชดําริเศรษฐกิจ
พอเพียง มาใชในการแกปญหาความยากจน โดยพัฒนาทั้งดานคน เศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดลอม
ทั้งนี้เพื่อใหเกษตรกรสามารถดํารงชีวิต และประกอบสัมมาอาชีพ ไดสอดคลองตามแนว
พระราชดําริเปนแนวทางการพัฒนาและแกปญหาไดอยางยั่งยืน ดังที่สุเมธ ตันติเวชกุล (2556 :
ออนไลน) กลาววา “การดําเนินชีวิตตามแนวพระราชดําริทฤษฎีใหม เปนการดําเนินชีวิตที่ตอง
พึ่งตนเองใหมากที่สุด ใชทรัพยากรที่มีอยูใหเกิดผลคุมคาที่สุด ไมผลิตและบริโภคเกินกําลัง และมี
สวนชวยเหลือซึ่งกันและกัน” การแกปญหาควรเริ่มตนจากการพัฒนาปจเจกบุคคล โดยเนนเพิ่ม
ศักยภาพและโอกาสของเกษตรกรใหสามารถพึ่งพาตนเองได จากระดับครัวเรือนไปสูระดับชุมชน
ใหไดกอนเพื่อเปนรากฐานที่มั่นคง
การปรับตัวที่สําคัญเพื่อใหทนตอแรงกดดันจากปจจัยตางๆ ที่ผูกมัดอยูกับโลกาภิวัตนนั้น
ก็มีสวนสําคัญที่ประยุกตมาจากหลักการเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อเพิ่มรายไดและลดรายจาย
ประกอบดวย (1) การสรางความหลากหลายในการผลิต ผลผลิตทางการเกษตร ซึ่งเกษตรกรจะ
เปลี่ยนจากการปลูกพืชหรือเลี้ยงสัตวที่เปนเชิงเดี่ยว กลับเขาสูการปลูกพืชหรือเลี้ยงสัตวในแบบที่
มีความหลากหลายเพิ่มมากขึ้นจากตัวอยางงานวิจัยของสํานักวิจัยเศรษฐกิจการเกษตร (2556 :
บทคัดยอ) ไดศึกษาโครงสรางอาชีพและการปรับตัวของครัวเรือนเกษตรกรในพื้นที่น้ําทวมซ้ําซาก
ภาคเหนือตอนลางไดสนับสนุนแนวทางการสรางความหลากหลายในการผลิตไววาครัวเรือนที่ปลูก
ขาวเพียงอยางเดียวสภาพเศรษฐกิจของครัวเรือนมีรายไดทางการเกษตรไมเพียงพอตอการ
ใชจายในครัวเรือนถึงรอยละ 70 ถึงแมจะมีรายไดสวนหนึ่งชดเชยความเสียหายจากภาครัฐ
แลวก็ตาม สาเหตุเนื่องจากครัวเรือนสวนใหญปลูกขาวเพียงอยางเดียวไมมีกิจกรรมอื่น เมื่อ
ผลผลิตไดรับความเสียหายจากโรคและแมลงศัตรูพืช ภัยแลง และน้ําทวมสวนครัวเรือนที่ปลูก
ขาวรวมกับการปลูกพืชอื่น เชน พืชไร พืชผักไมดอกไมประดับไมผล และเลี้ยงสัตวเพื่อ
เปนรายไดเสริมก็จะไดรับผลกระทบนอยกวา (2) การเปลี่ยนชนิดของพืชหรือพันธุสัตว เพื่อให