Page 59 -
P. 59
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
31
ชุมชนที่มักจะมีฐานะดี นาเชื่อถือใหเปนผูนําในการสรางสรรคความเจริญใหกับทองถิ่น โดย
ชาวบานที่ยากจนใหความสนับสนุนรวมมือการสงเสริมการพัฒนาเพื่อพึ่งตนเองนั้นจะตองทําอยาง
คอยเปนคอยไป ไมรีบรอนที่จะใหเกิดผลในทางความเจริญอยางรวดเร็ว สิ่งสําคัญที่ทานทรงมี
พระราชดําริอยูเสมอ คือ ชุมชนจะตองพึ่งตนเองไดในเรื่องอาหารกอนเปนลําดับแรก จากนั้นจึง
คอยกาวไปสูการพัฒนาในเรื่องอื่นๆ การขยายการผลิตเพื่อการคาใดๆ ก็ตาม ทรงมีขอสังเกต
เกี่ยวกับความพรอมในดานการตลาด โดยเฉพาะในดานความรูเบื้องตนเกี่ยวกับการจัดทําบัญชี
ธุรกิจการเกษตรของชาวบานอยางงายๆ อีกดวย (มูลนิธิชัยพัฒนา 2556 : ออนไลน)
การพัฒนาอาชีพเพื่อเพิ่มพูนรายได เปนเรื่องเศรษฐกิจในครัวเรือนซึ่งเปนเศรษฐกิจระดับ
จุลภาคของประชาชนฐานราก และสงผลตอเศรษฐกิจมหภาคประชาชนผูมีสวนไดเสียควรเปนผู
กําหนดวิถีทางของตนเองในการผลิต เพื่อเลือกแนวทางการพัฒนาและยกระดับคุณภาพชีวิตของ
ของประชาชนซึ่งเปนพสกนิกรของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ตลอดระยะเวลา 50 ป ที่ทรง
ครองสิริราชสมบัติ ทานไดพัฒนาแนวคิดและทฤษฎีที่ทรงคิดคนขึ้นเองในเรื่องของการอนุรักษ
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ตลอดจนดานการพัฒนาสังคมและการสงเสริมคุณภาพชีวิต
ของประชาชน โดยเสริมสรางความมั่นคงทั้งในดานเศรษฐกิจและสังคมแกประเทศชาติเปน
สวนรวมเปนหลัก ดังนั้นเกษตรกรในพื้นที่ทุกแหงหากไดนําแนวทางของพระองคทานมาปรับใชใน
วิถีการผลิตและวิถีการดํารงชีวิตยอมสรางสมดุลใหกับครัวเรือน หรือการสรางสมดุลทางเศรษฐกิจ
ที่ชั้นฐานรากยอมจะพึ่งพาตนเองไดในระดับพื้นฐานกอนที่จะกาวไปสูระดับที่สูงขึ้น
ปจจัยที่ทําใหสมดุลทางเศรษฐกิจในระดับฐานรากเสียไปดังที่พิพัฒน ยอดพฤติการ
(2556 : ออนไลน) กลาวไวอยางนาสนใจวาสมดุลทางเศรษฐกิจในระดับฐานรากเสียไปเกี่ยวของ
กับ สัดสวนการบริโภคกับการผลิต หรือสัดสวนคาใชจายตอรายได มีปริมาณที่ไมพอดีกัน จน
สะทอนออกมาในรูปของหนี้สินการอัดฉีดเงินเขาสูกระเปาของคนในระดับฐานรากทั้งแบบตรงและ
แบบออม ดวยหลักการเพิ่มตัวคูณ (Multiplier) เพื่อใหเกิดกิจกรรมทางเศรษฐกิจดวยการ
หมุนเวียนหลายๆ รอบ อาจมิไดแกปญหาหนี้สินและสรางใหเกิดสมดุลทางเศรษฐกิจขึ้นใหม ตราบ
ใดที่เงินซึ่งไดรับมานั้น มิไดถูกนําไปใชในการสรางอาชีพ สรางทักษะในการพึ่งตนเองใหได แต
กลับนําไปจับจายใชสอยกับสิ่งไมจําเปน รวมถึงอบายมุขตางๆ
ในทางทฤษฎี การแกปญหาของกลุมประชาชนฐานราก ซึ่งสวนใหญยังยึดอาชีพ
เกษตรกรรม รัฐตองเขาไปสงเสริมความเขมแข็งและการพึ่งตนเองจากภายใน มิใชคอยใหความ
ชวยเหลือโดยอาศัยทรัพยากรจากภายนอกแตสถานเดียว จนกระทั่งทําใหคนในชุมชนออนแอจน
พึ่งตนเองไมได แตวิธีนี้จําเปนตองใชระยะเวลาและคอยเปนคอยไป ซึ่งมักไมสอดคลองกับความใจ
รอนหรือความตองการผลงานแบบปจจุบันทันดวนของผูที่เกี่ยวของในระดับตางๆทางปฏิบัติ
มาตรการในระยะสั้นแนวทางหนึ่ง คือ รัฐสามารถใชกลไกสถาบันการเงินของรัฐ ในการแปลง
หนี้สินของเกษตรกรใหเปนการรวมทุนกับเกษตรกร หรือแปลงหนี้สินของครัวเรือนที่กูไปเพื่อการ
ประกอบอาชีพใหเปนการลงทุนของรัฐ เพื่อระงับการเดินของดอกเบี้ยกูยืม แลวพัฒนาโครงการ
ลงทุนในทองถิ่น ทําใหแตละครัวเรือนมีรายไดเพียงพอตอการดํารงชีพ และมีรายไดสวนเกินที่