Page 55 -
P. 55

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

                                                                                                        27





                     สอดรับกับสภาพพื้นที่ สภาวะการตลาด และการพัฒนาของเทคโนโลยี เพื่อใหเกษตรกรสามารถที่
                     จะผลิตผลผลิตที่มีคุณภาพออกสูตลาด เพื่อเปนการลดตนทุนและเวลาในการผลิตของเกษตรกรอีก

                     ทางหนึ่ง (3) การลดความเสี่ยงทางการตลาด ดวยการศึกษาความตองการทางการตลาดตอ
                     ผลผลิตทางการเกษตร การเนนคุณภาพของสินคามากกวาปริมาณในการผลิตในแตละรอบการ

                     ผลิต (4) การเปลี่ยนชวงเวลาในการประกอบกิจกรรมทางการเกษตร การปรับเปลี่ยนการไถพรวน
                     ดินมาเปนแบบการอนุรักษความชื้นและความอุดมสมบูรณของดิน การผลิตที่มีความหลากหลาย

                            อีกทั้งงานวิจัยของ ไชยรัตน  ปราณีและคณะ (2550) ที่ไดศึกษาเรื่อง “เศรษฐกิจพอเพียง
                     เพื่อแกปญหาความยากจน” การผลักดันครัวเรือนที่ยากจนมีรายไดตกเกณฑ ความจําเปนพื้นฐาน

                     (จปฐ.) ใหลดลงพบวามีวิธีการใหเกษตรกรดําเนินการดวยวิธีการดังตอไปนี้
                                1. สรางจิตสํานึกแกครัวเรือนที่ยากจนเพื่อลดรายจายที่ไมจําเปนตัดวงจรหนี้ ดําเนินชีวิต

                     ตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
                                2. ปลูกขาวอยางพอเพียงตอการบริโภคของครัวเรือน

                                3. ปลูกผักสวนครัวรั้วกินได หรือเลี้ยงสัตวไวบริโภค
                                4. ทําการเกษตรโดยใชปุยอินทรีย/ปุยชีวภาพที่ผลิตเอง

                                5. แปรรูปถนอมอาหารเก็บไวบริโภค
                                6. ปลูกพืชสมุนไพรไวใชเมื่อจําเปน

                                7. มีรายไดจากการประกอบอาชีพสุจริตอื่นๆ
                                8. มีเงินออมไวกับกลุมการเงินหรือธนาคาร

                                9. ทําการเกษตรแบบผสมผสานหรือไรนาสวนผสม
                             10. แลกเปลี่ยนเรียนรูดานการผลิตกับบุคคลอื่นในชุมชน

                                 พระมหาโสภณมูลหา (2554) ไดศึกษายุทธศาสตรการดํารงชีพของครัวเรือนเกษตรกร
                     ในชุมชนบริเวณเขื่อนอุบลรัตนพบวาพัฒนาการดํารงชีวิตของชุมชนและครัวเรือนเกษตรกรมีการ

                     ปรับตัวตอการเปลี่ยนแปลงอยางมากมายใหสามารถดํารงชีพไดภายใตกระแสการเปลี่ยนแปลง
                     โดยมีการปรับตัวปรับเทคนิควิธีในการสรางยุทธศาสตรการดํารงชีพในรูปแบบตางๆอยูตลอดเวลา

                     เงื่อนไขที่มีอิทธิพลตอการดํารงชีพของชุมชนและครัวเรือนเกษตรในชุมชนบริเวณเขื่อนอุบลรัตน
                     นั้นมี 8  ประการคือนโยบายรัฐกระแสทุนนิยมฤดูกาลหรือภัยธรรมชาติโรคภัยไขเจ็บการ

                     เปลี่ยนแปลงการอพยพการถือครองที่ดินและความผันผวนของราคาผลผลิตเปนเงื่อนไขสําคัญที่มี
                     อิทธิพลตอการดํารงชีพที่เขามาเกี่ยวของโดยที่ชาวบานพัฒนาการดํารงชีวิตของชุมชนและ

                     ครัวเรือนเกษตรกรตลอดถึงเงื่อนไขที่มีอิทธิพลตอการดํารงชีวิตและยุทธศาสตร
                                การดํารงชีวิตของครัวเรือนเกษตรกรในชุมชนบริเวณเขื่อนอุบลรัตนเปนวิธีการในการ

                     แสวงหาทางเลือกหรือวิธีการในการหาทางออกโดยใชกลไกในการเขาถึงทรัพยสิน/ทุนอยางชาญ
                     ฉลาดเมื่อครัวเรือนเกษตรกรตองประสบกับปญหาตางๆเพื่อใหตนเองและครอบครัวดํารงอยูได

                     โดยอาศัยความรูความสามารถในการจัดการทรัพยสินหรือทุนตางๆที่มีอยูในชุมชนเชนทุน
                     ธรรมชาติทุนทางมนุษยและทุนทางสังคมนํามาใชเปนยุทธวิธีในการทํากิจกรรมและยุทธวิธีในการ
   50   51   52   53   54   55   56   57   58   59   60