Page 53 -
P. 53

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

                                                                                                        25





                     คุณลักษณะดานอื่นที่เปนสาเหตุของการเปนหนี้สินเพิ่มมากขึ้นของเกษตรกรก็คือ การชอบความ
                     ทันสมัยของเกษตรกร หรืออีกนัยหนึ่งคือตองการเลียนแบบแผนการบริโภคของคนชั้นกลางใน

                     ชนบทหรือในเมือง การยอมรับเทคโนโลยีของเกษตรกรโดยเฉพาะอยางยิ่งเทคโนโลยีที่ชวยลด
                     ตนทุนการผลิต สวนปจจัยทางดานเศรษฐกิจที่ทําใหมีหนี้สินมากและมีนัยสําคัญทางเศรษฐกิจคือ

                     ทําการเกษตรผสมผสาน มีแหลงน้ําทําการเกษตร มีมูลคาทรัพยสินมาก มีรายไดจากการเกษตร
                     มาก มีรายไดนอกการเกษตรมากมีแนวโนมที่จะมีหนี้มาก แตในกรณีเปนหนี้สินที่มีปญหาไมมาก

                     นัก เพราะผูเปนหนี้ยังมีศักยภาพที่สามารถชําระหนี้ได
                                 จากงานศึกษาของ สุดใจ จงวรกิจวัฒนา (2554)    ที่ชี้ใหเห็นพฤติกรรมการบริโภคของ

                     ครัวเรือนวาเกษตรกรมีการบริโภคเปนไปตามทฤษฎีการบริโภคคือผูบริโภคมีเสรีภาพในการเลือก
                     บริโภคสินคาและบริการเพื่อสรางความพึงพอใจสูงสุดภายใตขอจํากัดของรายไดแตการบริโภคยัง

                     เปนไปเพื่อสรางความพึงพอใจอยางเดียวทําโดยไมมีการจัดการการใชจายอยางมีเหตุผลตาม
                     รายไดที่หมายถึงความพอประมาณและการมีภูมิคุมกันที่ดีเตรียมพรอมสําหรับอนาคตดังจะเห็นได

                     จากการบริโภคในหมวดการเดินทางและการสื่อสารที่มีแนวโนมในการใชจายสูงในลําดับตนๆ ของ
                     ทุกๆ กลุมรายไดเพื่อสรางความสะดวกสบายในปจจุบันในขณะที่แนวโนมในการใชจายดาน

                     การศึกษาและการรักษาพยาบาลซึ่งเปนสิ่งที่จะทําใหชีวิตมีการพัฒนาในดานสุขอนามัยและความรู
                     ซึ่งจะเสริมสรางยกระดับชีวิตใหดีขึ้นในอนาคตกลับอยูในลําดับทายๆอยางไรก็ดีแนวโนมการ

                     บริโภคที่ขาดการจัดการอยางมีเหตุผลอาจมีขออธิบายไดเนื่องจากรายไดที่มีระดับต่ําทําใหไม
                     สามารถจัดการกับรายไดที่มีอยูนอยไดทุกบาททุกสตางคตองถูกใชออกไปเพื่อการดํารงชีพ

                            การดํารงชีวิตตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง ไดเริ่มเปนที่สนใจแกประชาชนทั่วไปและ
                     เปนทางเลือก ทางรอดในการดํารงชีวิต ในทุกภาคสวนทั้งสาขาอุตสาหกรรม และเกษตรกรรม ใน

                     สวนของภาคการเกษตรนั้นไดเนนวิถีการผลิตตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง อยางที่พิพัฒน
                     ยอดพฤติการณ  (2550)  ไดกลาววา วิถีการผลิตตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเริ่มจากการ

                     พิจารณาปจจัยการผลิตไดแก ที่ดิน แรงงาน วัตถุดิบ ทุน ควรตั้งอยูบนพื้นฐานของการพึ่งตนเอง
                     คือที่ดินควรเปนกรรมสิทธิ์ของตนเอง ไมควรใชทุนไปซื้อหาหรือเชามาโดยเกินกําลัง วัตถุดิบซึ่ง

                     เปนทรัพยากรการผลิตของกลุมควรจะตองหาไดภายในทองถิ่นไมควรนํามาจากแหลงอื่นเพราะจะ
                     ไปเพิ่มตนทุนในการขนสง สวนทุนที่ใชในการผลิตควรเนนที่การพอมีพอกินการกูหนี้ยืมสินมาใช

                     เปนทุนในการผลิตหรือไปซื้อปจจัยการผลิตอื่นๆ จึงเปนสิ่งที่ตองหลีกเลี่ยง ในสวนของแรงงาน
                     เปนอีกหนึ่งปจจัยการผลิตตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงนอกจากจะเนนการแบงปนรวมมือ

                     ชวยเหลือซึ่งกันและกันแลวยังใหความสําคัญกับความรูจึงจะกอใหเกิดกิจกรรมการผลิตที่ไม
                     เบียดเบียนตนเอง ผูอื่นและทรัพยากรธรรมชาติซึ่งเปนจุดแข็ง” “การปรับตัว”  หรือ “การสรางกัน

                     ชนปองกันการครอบงําของทุนนิยม”  หรือ “การสรางภูมิคุมกันใหกับครัวเรือน”ซึ่งปรากฏเปน
                     วิธีการอันหลากหลายเชนการรับจางนอกภาคเกษตรการไปทํางานตางถิ่นหรือหากจังหวะและ

                     โอกาสดีคือ การที่โรงงานยายฐานการผลิตจากกรุงเทพมหานครหรือเขตปริมณฑลไปอยูตาม
                     ตางจังหวัดทําใหเกษตรกรไดรับจาง ในขณะที่ยังสามารถปลูกขาวกินเอง
   48   49   50   51   52   53   54   55   56   57   58