Page 52 -
P. 52

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

                                                                                                        24





                     2.4 พฤติกรรมการบริโภคของครัวเรือนเกษตรกร
                            วิดาวรรณ   เพ็งแกว (2549 :  บทคัดยอ) ไดศึกษาพฤติกรรมการใชจายและการออมของ

                     เกษตรกรชาวสวนยาง ในพื้นที่กิ่งอําเภอศรีนครินทร จังหวัดพัทลุง ซึ่งงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค
                     เพื่อศึกษาลักษณะทางสังคมและเศรษฐกิจ พฤติกรรมการใชจายและการออม ความสัมพันธ

                     ระหวางปจจัยดานสังคมและเศรษฐกิจกับพฤติกรรมการใชจายและการออม ตลอดจนปญหาและ
                     อุปสรรคของเกษตรกรชาวสวนยางที่ไมมีเงินออม การศึกษาใชแบบสอบถามเชิงโครงสราง

                     สัมภาษณกลุมตัวอยางที่ไดจากการสุมอยางงาย (sample random sampling) จํานวน 150 ราย
                     ครอบคลุมพื้นที่ 4  ตําบล ในพื้นที่กิ่งอําเภอ ศรีนครินทร จังหวัดพัทลุง โดยใชสถิติไคสแควร

                     วิเคราะหความสัมพันธระหวางปจจัยดานสังคมและเศรษฐกิจกับพฤติกรรมการใชจายและการออม
                     ของเกษตรกรชาวสวนยาง ผลการศึกษาพบวา กลุมตัวอยางสวนใหญเปนเพศหญิง สถานภาพ

                     สมรส นับถือศาสนาพุทธ สําเร็จการศึกษาระดับประถมศึกษา จํานวนสมาชิกในครัวเรือนเฉลี่ย
                     4.18  คน มีบุตรกําลังศึกษาเฉลี่ยครอบครัวละ 1.78  คน พื้นที่ถือครองเฉลี่ย 14.54  ไร พื้นที่กรีด

                     ยาง 12.26  ไร รายไดเฉลี่ย 18,762.67  บาทตอเดือน รายจายเฉลี่ย 17,214.13  บาทตอเดือน
                     ประกอบดวยรายจายเพื่อการชําระหนี้ 4,370.22     บาท รายจายเพื่อการอุปโภคและบริโภค

                     4,094.33 บาท รายจายเพื่อการศึกษาบุตร 3,533.91 บาท รายจายสินคาฟุมเฟอย 2,041.25 บาท
                     รายจายเพื่อการผลิต 1853.33 บาท รายจายเพื่อกิจกรรมทางสังคม 963.73 บาทและรายจายเพื่อ

                     การรักษาพยาบาล 357.87 บาท กลุมตัวอยางมีเงินออมเฉลี่ย 51,449.29 บาทตอครัวเรือน โดยให
                     ความสําคัญกับการออมเงินในรูปแบบกลุมออมทรัพยมากที่สุด คิดเปนรอยละ 62.0 มีวัตถุประสงค

                     การออมเพื่อเปนทุนในการประกอบอาชีพและใชจายยามเจ็บปวยหรือชรา ปจจัยที่มีผลตอการใช
                     จาย คือ รายไดเฉลี่ย การมีหนี้สิน รูปแบบการจําหนายผลผลิต อายุ และการรับทราบขาวสาร

                     ทั่วไปจากวิทยุและโทรทัศน อยางมีนัยสําคัญที่ระดับความเชื่อมั่นรอยละ 95  และปจจัยที่มีผลตอ
                     การออม คือ รายไดเฉลี่ย การมีหนี้สิน อายุ และจํานวนบุตรที่กําลังศึกษา อยางมีนัยสําคัญที่ระดับ

                     ความเชื่อมั่นรอยละ 95 ปญหาและอุปสรรคของเกษตรกรที่ไมมีเงินออม คือ การมีรายไดนอย และ
                     มีหนี้สินที่ตองชําระในแตละเดือนมาก

                            วิทยา  เจียรพันธุ และคณะ (2551) ไดศึกษาโครงการวิจัยหนี้สินภาคครัวเรือนเกษตรกร
                     ในชนบทไทย ผลการวิจัยพบวา เกษตรกรมีเงินออมเฉลี่ย 14,432  บาท มีหนี้สินเฉลี่ย 167,597

                     บาท มีรายไดการเกษตรเฉลี่ย 140,076    บาท รายไดนอกภาคการเกษตรเฉลี่ย 60,288  บาท
                     ผลการวิจัยในภาพรวมเกี่ยวกับภาวะหนี้สินของเกษตรกร ปจจัยที่ทําใหเกษตรกรมีหนี้สินเพิ่มขึ้น

                     ในสวนของปจจัยสวนบุคคลประกอบดวยตัวแปรดานเพศ คือเพศหญิง มีอายุมากกวา มีการศึกษา
                     มากกวา มีสมาชิกอยูในวัยแรงงานมากกวา มีจํานวนสมาชิกที่ประกอบอาชีพนอยกวา โดยที่ตัว

                     แปรดานเพศและจํานวนสมาชิกที่ประกอบอาชีพเปนตัวแปรที่ไมมีนัยสําคัญทางสถิติ ในขณะที่
                     อายุ การศึกษา และจํานวนสมาชิกในวัยแรงงาน จะมีความสําคัญทางสถิติสูงกวา กลุมปจจัยสวน

                     บุคคลที่ทําใหเกษตรกรมีหนี้สินลดลง ประกอบดวย ความเปนเพศชาย มีอายุนอยกวา มีการศึกษา
                     นอยกวา มีจํานวนสมาชิกในวัยแรงงานนอยกวา และมีจํานวนสมาชิกที่ประกอบอาชีพมากกวา
   47   48   49   50   51   52   53   54   55   56   57