Page 50 -
P. 50

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

                                                                                                        22





                     ไวในยุงฉาง ยุงฉางที่ดีเปนยุงฉางที่ทําดวยไมยกพื้นสูงจากพื้นดิน อยางนอย 1 เมตร อากาศ
                     ถายเทไดสะดวก เพื่อจะได ระบายความชื้นและความรอนออกไปจากยุงฉาง นอกจากนี้ หลังคา

                     ของยุงฉางจะตองไมรั่วโดยปกติชาวนาจะใชสังกะสีมุงหลังคาเพื่อกันน้ําฝนไมใหหยดลงไปในฉาง
                     กอนเอาขาวขึ้นไปเก็บไว ในยุงฉาง ก็จะทําความสะอาดยุงฉางเสียกอนโดยปดกวาดแลวพนดวย

                     ยาฆาแมลง (สํานักงานเกษตรจังหวัดอุบลราชธานี 2557)  กระบวนการเก็บเกี่ยวขาวที่รวมตั้งแต
                     การเก็บเกี่ยว การตาก การนวดขาวมีตนทุนที่ตองจายมากคือคาแรงงาน โดยเฉพาะคาแรงงานที่

                     ปรับขึ้นตามนโยบายของรัฐบาลอัตราวันละ 300  เกษตรกรก็ตองยอมจาย เนื่องจากการเก็บเกี่ยว
                     ตองทําอยางรวดเร็วเพื่อลดความเสียหายของขาวจากสภาพอากาศในชวงเดือนตุลาคม-

                     พฤศจิกายนซึ่งเปนชวงปลายฝนตนหนาว บางครัวเรือนเลือกใชเครื่องนวดขาว แตบางครัวเรือน
                     ยังคงใชแรงงานคน






















                                                    ภาพที่ 2.7 ยุงฉางสําหรับเก็บขาว

                                                            ที่มา: ออนไลน


                            ระบบและวิถีการผลิตขาวของเกษตรกรที่ไดขึ้นชื่อวาเปนกระดูกสันหลังของชาตินั้น ในแต
                     ละขั้นตอนที่ตองนํามาเสนอในบทนี้เนื่องจากกวาจะมาเปนเมล็ดขาวที่มีคุณคาสําหรับการบริโภค

                     ของคนในประเทศและการสงออกไปยังตางประเทศตองผานกระบวนการหลายขั้นตอน นอกจาก
                     หลังสูฟาหนาสูดินแลว ในขั้นตอนการผลิตทั้งหมดเกี่ยวของกับตนทุนในการดําเนินงานโดยตรง

                     โดยเฉพาะคาใชจายและปจจัยสนับสนุนการผลิตเชน เมล็ดพันธขาว ปุย ยาปราบศัตรูพืช น้ํามัน
                     เชื้อเพลิงสําหรับครัวเรือนที่ใชเครื่องจักร คาอาหารสําหรับแรงงานเมื่อมีการจางแรงงานในแตละ

                     ขั้นตอนซึ่งรายจายที่จายไปในแตละขั้นตอนนี้ เปนตัวแปรสําคัญที่สามารถนํามากําหนดเปน
                     โครงสรางในแบบแผนการใชจายของเกษตรกรทั้งสิ้น โดยเฉพาะหากแรงงานในครัวเรือนไม

                     เพียงพอจําเปนตองจางแรงงานในทองถิ่น หรือลงทุนซื้อเครื่องจักรเครื่องทุนแรงเชนรถไถนา รถ
                     เกี่ยวขาว เปนตน นํามาซึ่งตนทุนในการผลิตที่มากขึ้นอีกทั้งเปนจุดเริ่มตนของหนี้สินผูกพัน

                     เกษตรกรในอนาคต
   45   46   47   48   49   50   51   52   53   54   55