Page 56 -
P. 56

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

                                                                                                        28





                     ปรับตัวเพื่อการอยูรอดโดยการสรางงานอาชีพกิจกรรมหรือสรางรูปแบบวิธีการตางๆอัน
                     หลากหลายโดยอาศัยทรัพยสิน/ทุนที่มีอยูนั้นมาสนับสนุนในการประกอบอาชีพซึ่งยุทธศาสตรที่วา

                     นี้จะอยูในรูปแบบการรวมกลุมการลงทุนการทดแทนการยอมสละการยอมทนการประทวงการ
                     อพยพแรงงานการฝกทักษะอาชีพและการประกอบอาชีพเสริมโดยลักษณะของการสราง

                     ยุทธศาสตรหรือวิธีการในการแสวงหาทางเลือกหรือวิธีการในการหาทางออกนี้จะนําไปสูการ
                     กําหนดยุทธศาสตรการดํารงชีพของครัวเรือนเกษตรกร หรือชุมชนใหมีประสิทธิภาพในการดํารง

                     ชีพไดซึ่งยุทธศาสตรการดํารงชีพของครัวเรือนเกษตรกรหรือชุมชนนี้จะกอใหเกิดผลลัพธในการ
                     ดํารงชีพตางๆตามมาคือการมีรายไดเพิ่มขึ้นการมีความเปนอยูที่ดีขึ้นการลดความออนแอลงการ

                     เพิ่มความมั่นคงดานอาหารและการเกิดความยั่งยืนในการใชทรัพยากรธรรมชาติอันกอใหเกิด

                     ความอยูรอดและความยั่งยืนของชุมชน
                            นคร  ยิ้มศิริวัฒนะ (2541) ไดศึกษาการศึกษาการวิเคราะหพฤติกรรมการบริโภคของ
                     ครัวเรือนเกษตรกรภาคกลาง  โดยมีจุดมุงหมายเพื่อศึกษาถึงการบริโภค รายได รายจายและการ

                     ออมตลอดจนปจจัยที่มีความสัมพันธกับการบริโภคของครัวเรือนเกษตรกรในภาคกลางปการ
                     เพาะปลูก 2534/35 จํานวนครัวเรือนตัวอยาง 11,587 ครัวเรือนพบวาสวนใหญครัวเรือนเกษตรกร

                     ในภาคกลางมีขนาดครัวเรือน 4  คนตอครัวเรือน มีกําลังแรงงานเฉลี่ย 2  คนตอครัวเรือน หัวหนา
                     ครัวเรือนสวนใหญเปนเพศชาย มีระดับการศึกษาเพียงภาคการศึกษาบังคับ อายุระหวาง 40-49 ป

                     ครัวเรือนเกษตรกรมีรายไดเงินสดทางการเกษตรเฉลี่ย 71,464.36 บาทตอครัวเรือน มีรายจายเงิน
                     สดทางการเกษตร 59,915  บาทตอครัวเรือน มีรายไดสุทธิทางการเกษตร 10,712.43  บาทตอ

                     ครัวเรือนมีรายไดเงินสดในการบริโภค 55,508.47 บาทตอครัวเรือน และการลงทุนนอกการเกษตร
                     15,025.67 บาทตอครัวเรือน มีการออมเบื้องตนของครัวเรือน -11,034.33 บาทตอครัวเรือนและ

                     พบวาปจจัยที่กําหนดการบริโภคไดแก รายไดเงินสด รายไดเงินสดจากทรัพยสิน อายุหัวหนา
                     ครัวเรือน จํานวนสมาชิกในครัวเรือน หนี้สินตนป และหนี้สินระหวางปมีความสัมพันธทางเดียวกัน

                     สําหรับการบริโภคกับการออมมีความสัมพันธกันแตในทิศทางตรงขามกัน
                            งานวิจัยที่พบในอดีตที่กลาวมาขางตน สวนใหญเปนงานวิจัยที่ศึกษาการปรับตัวในการ

                     ดํารงชีพในระบบการผลิตแสดงใหเห็นตนทุน การเกิดหนี้สิน การออมของครัวเรือน ของเกษตรกร
                     และการปรับตัวเพื่อใหอยูไดในสภาพเศรษฐกิจและสังคมปจจุบัน แตงานวิจัยสวนใหญขาด

                     การศึกษาพฤติกรรมที่เกี่ยวเนื่องไปสูตนทุนการผลิต การเกิดหนี้สิน และการออม จึงแตกตางจาก
                     งานวิจัยเรื่องนี้ ที่เนนใหเห็นแบบแผนรายไดและการใชจายทั้งในระบบการผลิตและการดํารงชีพ

                     ของเกษตรกรที่เชื่อมโยงมาจากพฤติกรรมของเกษตรกรผูปลูกขาวเปนสําคัญ         เพราะหาก
                     เกษตรกรสามารถปรับพฤติกรรมของตนเองไปสูแนวทางที่ลดความเสี่ยงในลักษณะพึ่งพาตนเอง

                     ได จะชวยใหเกษตรกรอยูรอดไดและลดภาระของรัฐบาลลงไดบาง
   51   52   53   54   55   56   57   58   59   60   61