Page 58 -
P. 58

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

                                                                                                        30





                     2.6 แนวคิดการพัฒนาเพื่อพึ่งตนเองของเกษตรกรอันเนื่องมาจากพระราชดําริ
                             แนวพระราชดําริเกี่ยวกับการสงเสริมชุมชนหรือการพัฒนาชนบทที่สําคัญๆ คือ การที่

                     พระองคทรงมุงชวยเหลือพัฒนาใหเกิดการพึ่งตนเองไดของคนในชนบทเปนหลัก กิจกรรมและ
                     โครงการตามแนวพระราชดําริที่ดําเนินการอยูหลายพื้นที่ทั่วประเทศในปจจุบันนั้นลวนแลวแตมี

                     เปาหมายสุดทายอยูที่การพึ่งตนเองไดของราษฎรทรงยึดหลักสภาพของทองถิ่นเปนแนวทางใน
                     การดําเนินงานตามโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดําริ ทั้งดานสภาพแวดลอม ทางภูมิศาสตร

                     วัฒนธรรม และขนบธรรมเนียมประเพณี ของแตละทองถิ่นในแตละภูมิภาคของประเทศ เพราะทรง
                     ตระหนักดีวาการเปลี่ยนแปลงใดที่ดําเนินการโดยฉับพลันอาจกอใหเกิดผลกระทบตอคานิยม

                     ความคุนเคย และการดํารงชีพในวิถีชีวิตประชาชนเหลานั้นเปนอยางมาก (สุเมธ  ตันติเวชกุล
                     2556 : ออนไลน)

                                การสรางความแข็งแรงใหชุมชน ดวยการสรางโครงสรางพื้นฐานหลักที่จําเปนตอการผลิต
                     อันจะเปนรากฐานนําไปสูการพึ่งตนเองไดในระยะยาว โครงสรางพื้นฐานที่สําคัญ คือ แหลงน้ํา

                     เพราะเปนปจจัยสําคัญที่จะทําใหเกษตรกรสวนใหญที่ตองพึ่งพาอาศัยน้ําฝนจักไดมีโอกาสที่จะมี
                     ผลิตผลไดตลอดป ซึ่งเปนเงื่อนไขปจจัยสําคัญยิ่งที่จะทําใหชุมชนพึ่งตนเองไดในเรื่องอาหารได

                     ระดับหนึ่ง และเมื่อชุมชนแข็งแรงพรอมดีแลว ก็อาจจะมีการสรางโครงสรางพื้นฐานอื่นๆ ที่จําเปน
                     ตอการยกระดับรายไดของชุมชน เชน เสนทางคมนาคม การมีสาธารณูปโภคพื้นฐานที่จําเปน ซึ่ง

                     การพัฒนาในลักษณะที่เปนการมุงเตรียมชุมชนใหพรอมตอการติดตอสัมพันธกับโลกภายนอก
                     อยางเปนขั้นตอนนี้ทรงเรียกวา การระเบิดจากขางในสงเสริมหรือสรางเสริมสิ่งที่ชาวชนบทขาด

                     แคลน และเปนความตองการอยางสําคัญ คือ ความรู ดานตางๆ (มูลนิธิชัยพัฒนา 2556 :
                     ออนไลน)

                               พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวทรงตระหนักวา ชาวชนบทควรจะมีความรูในเรื่องของการ
                     ทํามาหากิน การเลี้ยงชีพ การทําการเกษตรโดยใชเทคโนโลยีที่เหมาะสมโดยทรงเนนถึงความ

                     จําเปนที่จะตองมีตองคํานึงถึงสิ่งอื่นเปนพื้นฐานและสวนประกอบของงานที่ทําดวย อยางใน
                     ประเทศไทยประชาชนที่ทํามาหาเลี้ยงชีพดวยการกสิกรรมและการลงแรงทํางานเปนพื้นฐาน การ

                     ใชเทคโนโลยีอยางใหญโตเต็มรูปหรือเต็มขนาดในงานอาชีพหลักของประเทศยอมจะมีปญหา เชน
                     อาจทําใหตองลงทุนมากมายสิ้นเปลืองเกินกวาเหตุ หรืออาจกอใหเกิดการวางงานอยางรุนแรงขึ้น

                     เปนตน ผลที่เกิดก็จะพลาดเปาหมายไปหางไกลและกลับกลายเปนผลเสียดังนั้นการนําเทคโนโลยี
                     ขั้นสูงมาใชในขณะที่ไมพรอมหรือไมมีความรูตามหลักวิชาการยอมเกิดผลเสียมากกวาผลดี

                             พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวทรงเลือกใชเทคนิควิธีการตางๆ หลายประการเพื่อบรรลุถึง
                     เปาหมายการรวมกลุมประชาชนเพื่อแกไขปญหาหลักของชุมชนชนบท ซึ่งเปนรากฐานสําคัญ

                     ประการหนึ่งของการพัฒนาพึ่งตนเอง โดยเฉพาะการรวมตัวกันเปนรูปของสหกรณการสงเสริม
                     โดยกระตุนผูนําชุมชนใหเปนผูนําในการพัฒนาก็เปนอีกวิธีหนึ่งที่ทรงใชในบางพื้นที่ตามความ

                     เหมาะสม ทรงพิจารณาผูนําโดยเนนในดานคุณธรรม ความโอบออมอารี ความเปนคนในทองถิ่น
                     และรักทองถิ่น จากนั้นทรงอาศัยโครงสรางสังคมไทย โดยเฉพาะระบบอุปถัมภกระตุนใหผูนํา
   53   54   55   56   57   58   59   60   61   62   63