Page 62 -
P. 62

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

                                                                                                        34





                     เศรษฐกิจพอเพียงแบบพื้นฐาน ที่เนนความพอเพียงในระดับบุคคลและครอบครัวคือสมาชิกใน
                     ครอบครัวมีความเปนอยูในลักษณะที่สามารถพึ่งตนเองได สามารถสนองความตองการขั้นพื้นฐาน

                     ในปจจัยสี่ของตนเองและครอบครัวไดดําเนินชีวิตดวยการประหยัดและลดคาใชจายที่ไมจําเปน จน
                     สามารถดํารงชีวิตไดอยางมีความสุข สวนในระดับที่สองเปนเศรษฐกิจพอเพียงแบบกาวหนาที่เนน

                     ความพอเพียงในระดับกลุม องคกร เมื่อบุคคลหรือครอบครัวมีความพอเพียงในระดับที่หนึ่งแลว ก็
                     จะรวมตัวกันเปนพลังในรูปกลุมหรือสหกรณเพื่อดําเนินงานในดานตางๆ สําหรับเศรษฐกิจ

                     พอเพียงระดับที่สามนั้น เปนเศรษฐกิจพอเพียงแบบกาวหนาอีกขั้น ที่ตอยอดมาจากเศรษฐกิจ
                     พอเพียงระดับที่สองจะรวมมือกับหนวยงานภายนอกเพื่อสรางเครือขาย มีการติดตอรวมมือกับ

                     ธนาคารและบริษัทตางๆ ในดานการลงทุน การผลิต การตลาด การจําหนายและการบริหารจัดการ
                     เพื่อขยายกิจกรรมทางเศรษฐกิจ

                               เศรษฐกิจพอเพียงจึงเปนทั้งวิธีการ (ทําดี) วิธีคิด (คิดดี) วิถีชีวิต (ความสุข) ที่จะนําพา
                     ชีวิตของมวลมนุษยชาติใหมีความสุขตามอัตภาพสวนตนหรือมีสภาวะความทุกขที่ลดนอยลง

                     เพราะเนนการมีภูมิคุมกันดวยการพึ่งพาตนเอง โดยใชทุนทางสติปญญา ความรู และคุณธรรมที่
                     เปนเงื่อนไขของเศรษฐกิจพอเพียง ที่มีอยูในตัวบุคคลใหเกิดประโยชนตอตนเองและสังคมสวนรวม

                     หากทุกคนมีจุดเนนไปที่ความพอประมาณซึ่งเปนที่มาของความสุขอยางแทจริง เพราะความ
                     พอประมาณทําใหไมเกิดความโลภ เมื่อไมเกิดความโลภมากก็ไมเบียดเบียนคนอื่น ธรรมชาติและ

                     สิ่งแวดลอม ดังนั้นในระบบนิเวศนที่ตางก็ตองพึ่งพาอาศัยกัน ขณะเดียวกันก็มีความเอื้อเฟอเผื่อแผ
                     กอเกิดเปนทุนทางสังคมคือการชวยเหลือเกื้อกูลกัน (สุภาวดี  ขุนทองจันทร 2553) เศรษฐกิจ

                     พอเพียงจึงเขียนเปนแผนภาพอยางงายไดตามภาพที่ 2.9
   57   58   59   60   61   62   63   64   65   66   67