Page 66 -
P. 66

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

                                                                                                        38





                               4. แนวทางการดํารงชีพอยางยั่งยืนสรางจุดแข็ง (Build on strengths) สรางขึ้นบนจุดแข็ง
                     ของการรับรูของผูคนและมีโอกาสมากกวาที่จะมุงเนนไปที่ปญหาและความตองการของพวกเขา

                     จะสนับสนุนกลยุทธการทํามาหากินที่มีอยู
                               5. แนวทางการดํารงชีพอยางยั่งยืนสงเสริมการเชื่อมโยงไมโครแมคโคร (Promote micro-

                     macro links) ตรวจสอบอิทธิพลของนโยบายและสถาบันการศึกษาเกี่ยวกับตัวเลือกการทํามาหา
                     กินและไฮไลทที่จําเปนสําหรับนโยบายที่จะรับแจงจากขอมูลเชิงลึกจากระดับทองถิ่นและตามความ

                     คาดหวังของคนยากจน
                               6. แนวทางการดํารงชีพอยางยั่งยืนสนับสนุนความรวมมือในวงกวาง (Encourage broad

                     partnerships) นับความรวมมือในวงกวางเมื่อภาพวาดบนทั้งภาครัฐและเอกชน
                               7. แนวทางการดํารงชีพอยางยั่งยืนจุดมุงหมายเพื่อความยั่งยืน (Aim for sustainability)

                     การพัฒนาอยางยั่งยืนเปนสิ่งสําคัญหากการลดความยากจนคือกรอบแนวทางการดํารงชีพอยาง
                     ยั่งยืนแสดงใหเห็นถึงองคประกอบหลักของแนวทางการดํารงชีพอยางยั่งยืนและวิธีการที่ปจจัยแต

                     ละอยางมีการเชื่อมโยง ทํางานในลักษณะเชิงความสัมพันธเปนเหตุเปนผล ในลักษณะที่สะทอน
                     ความเปนจริงเมื่อเกิดผลกระทบพรอมทั้งมุงที่จะเสนอวิธีคิดเกี่ยวกับวิถีชีวิตของคนยากจนที่จะ

                     กระตุนใหเกิดการรักษาผลิตภาพในการใชทรัพยากรสะทอนเกี่ยวกับปจจัยหลายอยางที่มีผลตอ
                     การดํารงชีวิตในแบบที่พวกเขามีปฏิสัมพันธไวใหไดนานที่สุดกอใหเกิดความยั่งยืนในการใช

                     ทรัพยากรสิ่งแวดลอมทั้งทางเศรษฐกิจของระดับบุคคล ระดับครัวเรือน สังคมเพื่อหาวิธีที่มี
                     ประสิทธิภาพมากขึ้นในการสนับสนุนการดํารงชีวิตและการลดความยากจนลง

                               เมื่อเกิดสภาพบริบทของความออนแอและความไมแนนอนในระบบการดํารงชีพ ซึ่งมี
                     สาเหตุจากปจจัยหลายอยางที่สงผลกระทบโดยตรงตอสภาพความเปนอยูและวิถีชีวิต อาจจะ

                     กระทบขึ้นอยางรุนแรงทันทีอยางที่ไมอาจคาดคิดมากอนเชนภาวะจากภัยธรรมชาติ ความไม
                     ปลอดภัยในทรัพยสิน สุขภาพและความเจ็บปวยที่เกิดขึ้นกะทันหัน  นอกจากนี้ ในภาวการณ

                     ดํารงชีวิตยังคงมีปจจัยแนวโนมอยางอื่นที่มาเกี่ยวของทั้งทางตรงและทางออม ปจจัยดังกลาว
                     ไดแก เศรษฐกิจ การเมือง นโยบายของภาครัฐ เทคโนโลยีและการสื่อสารหรืออาจกลาวไดวาเปน

                     สภาพของโลกาภิวัตนที่เปนไปตามสภาพการณของโลกอยางหลีกเลี่ยงไมได อีกทั้งการ
                     เปลี่ยนแปลงไปตามฤดูกาลหากมองทางดานการเกษตรนอกจากราคาผลผลิต ภาวการณตลาด

                     การจางงาน เหลานี้เปนตน
                               การสรางความมั่นคงโดยการมีทุนสําหรับการดํารงชีพจึงเปนสิ่งสําคัญสําหรับคนยากจน

                     หรือเกษตรกรเพื่อรองรับความกดดันจากปจจัยตางๆ ที่สามารถเกิดขึ้นไดตลอดเวลา ซึ่งประกอบ
                     ไปดวยทุนที่สําคัญคือ ทุนมนุษย ซึ่งหมายถึงความรู ความสามารถและทักษะในการผลิต และ

                     ทักษะในการดํารงชีวิต การมีคุณธรรมจริยธรรมเอื้ออาทรกัน ทุนทางสังคม หมายถึงการรวมกลุม
                     ใหความชวยเหลือและรวมมือรวมใจกันใหเกิดความเขมแข็งมีอํานาจตอรองเพื่อไมใหถูกเอารัดเอา

                     เปรียบจากผูไมหวังดีหรือตองการแสวงหาผลประโยชนจากเกษตรกร  ทุนทางธรรมชาติหมายถึง
                     การมีที่ดินในการทํากินเปนกรรมสิทธิ์ของตนเอง การมีทรัพยากรสนับสนุนในการดํารงชีวิตเชน
   61   62   63   64   65   66   67   68   69   70   71