Page 70 -
P. 70

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

                                                                                                        42





                     ขีดความสามารถในการผลิต พัฒนาประเทศชาติใหทัดเทียมกับนานาประเทศไดดังนั้นแบบ
                     แผนการใชจายของครัวเรือนเกษตรกรในจังหวัดอุบลราชธานี คือการศึกษาโครงสรางการใชจาย

                     ในสินคาและบริการประเภทตางๆ ทั้งที่เปนทางตรงและทางออมที่สะทอนมาจากคุณลักษณะของ
                     ครัวเรือนนั้นๆ


                     2.11  การปรับตัวของครัวเรือนเกษตรกร

                             ทฤษฎีการปรับตัวของรอย (Roy  1999)  การปรับตัวเปนตัวแปรสําคัญที่แสดงถึง
                     ความสามารถของบุคคลในการตอบสนองทางบวกตอสถานการณตางๆ ที่เกี่ยวพัน พฤติกรรมของ

                     การปรับตัว มี 4 ดานไดแก การปรับตัวทางดานรางกายเพื่อรักษาสุขภาพกายใหแข็งแรงเพื่อจะได
                     แสดงออกถึงความตองการขั้นพื้นฐาน การปรับตัวดานอัตมโนทัศน ที่เกิดจากการรับรูจากบุคคลที่

                     รอบขาง การปรับตัวดานบทบาทหนาที่เพื่อตอบสนองทางดานความมั่นคงหรือการไดรับการ
                     ยอมรับในสังคม

                                ในกรณีของเกษตรกรผูปลูกขาว สังคมคาดหวังวาเกษตรกรตองปลูกขาวที่มีคุณภาพเพื่อ
                     หลอเลี้ยงผูคน ดังนั้นบทบาทของเกษตรกรจึงตองทําหนาที่ปลูกขาวตามความคาดหวังของสังคม

                     ซึ่งในความคาดหวังเกษตรกรอาจจะลมเหลวหรือประสบผลสําเร็จในบทบาทนั้นๆ แตเกษตรกร
                     ยอมพยายามที่จะปรับตัวเพื่อความสําเร็จตามบทบาทหนาที่ของตนเอง และการปรับตัวดานการ

                     พึ่งพาระหวางกัน เปนการสรางความมั่นคงทางสังคมคือการชวยเหลือเกื้อกูลกันระหวางบุคคล
                     เพื่อใหเกิดความมั่นใจและปลอดภัย ดังนั้นเพื่อใหเกิดความเหมาะสมบุคคลตองพึ่งตนเองและผูอื่น

                     ภายในของเขตที่สังคมยอมรับ ดวยเหตุนี้ผูวิจัยจึงตองใชการปรับตัวตามแนวคิดของรอยเนื่องจาก
                     มิติที่เปนตัวบุคคลมีความเชื่อมโยงกันไมสามารถแยกจากกันไดเด็ดขาด เปนความคิดรวบยอด

                     ของการทบทวนในงานวิจัยเรื่องนี้ แนวคิดการปรับตัวของครัวเรือนและพฤติกรรมการปรับตัว
                     ของครวเรือนที่มีสาเหตุหลักจากความกดดันจากสภาพทางดานเศรษฐกิจ และสังคมที่เปน

                     สภาพแวดลอมของเกษตรกรที่ไมสามารถจะควบคุมได ดังนั้นวิธีการที่เหมาะสมที่สุดคือการ
                     ปรับตัวดวยวิธีการตางๆ เพื่อใหดํารงอยูอยางมีความสุขในชีวิต

                             จังหวัดอุบลราชธานี ประชากรสวนใหญมีอาชีพทางการเกษตร จากการทบทวน
                     วรรณกรรมปริทรรศนที่นําไปสูการวิจัย ครัวเรือนเกษตรกรที่มีฐานะยากจนและเปนเกษตรกรราย

                     ยอยยังคงมีอยูเปนจํานวนมาก สัดสวนหนี้สินตอรายไดก็ยังเพิ่มสูงขึ้น ถึงแมจะมีนโยบายใหความ
                     ชวยเหลือจากรัฐบาลทุกยุคทุกสมัย การเพิ่มขึ้นของหนี้สินเปนผลสะทอนพฤติกรรมการใชจายของ

                     เกษตรกรที่ไมสมดุลกับรายได ดังนั้นการทําวิจัยเรื่องแบบแผนการใชจายของครัวเรือนเกษตรกรผู
                     ปลูกขาวจังหวัดอุบลราชธานี โดยใชกรอบแนวพระราชดําริในการดําเนินชีวิตแบบเศรษฐกิจ

                     พอเพียงที่มีความเหมาะสมกับสภาพสังคมของประเทศไทย เปนงานวิจัยที่จําเปนตองดําเนินการ
                     เพื่อสรางทางเลือกใหเกษตรกรผูปลูกขาวไดนําไปใชเพื่อตอบสนองใหเกิดการพึ่งพาตนเองใน

                     ระดับปจเจกชน เปนพื้นฐานการพัฒนาคุณภาพชีวิตที่ดีและการเสริมสรางความเขมแข็งของ
                     เกษตรกรที่เปนกระดูกสันหลังของชาติ อันเปนยุทธศาสตรที่สําคัญของจังหวัดอุบลราชธานีอันจะ
   65   66   67   68   69   70   71   72   73   74   75