Page 73 -
P. 73

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

                                                                                                        45





                     (อารี วิบูลยพงศ 2549 : 1-2) และการวิจัยเชิงคุณภาพ (qualitative) เก็บรวบรวมขอมูลที่ละเอียด
                     ลึกจากกลุมตัวอยางขนาดเล็ก ซึ่งในงานวิจัยนี้จํานวนกลุมตัวอยาง 12 รายเพื่อเจาะลึกบรรยาย

                     เหตุการณที่เปนเหตุเปนผลสนับสนุนการดําเนินงานซึ่งจะทําใหไดคําตอบที่ลึกซึ้งกวาขอมูลเชิง
                     ปริมาณแตเพียงอยางเดียว (นราศรี ไววนิชกุล และชูศักดิ์ อุดมศรี 2547 : 179)

                                ดังนั้นจึงอาจกลาวไดวางานวิจัยเชิงปริมาณสวนหนึ่งชี้ใหเห็นวามีเหตุการณบางอยาง
                     เกิดขึ้น ซึ่งเหตุการณนั้นสามารถอธิบายไดดวยการเก็บขอมูลเชิงคุณภาพ แตวิธีการทั้งสองคือ

                     ศึกษาปญหาเดียวกัน การผสานกันระหวางวิธีการวิจัยเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพจะทําใหไดผล
                     ผลิตสุดทายที่สามารถแสดงใหเห็นประโยชนอยางสําคัญของวิธีการวิจัยทั้งสองแบบ ในงานวิจัย

                     เรื่องนี้จึงมีลําดับขั้นตอนของการวิจัยแบงออกเปนสองขั้นตอนในสวนของเชิงปริมาณและเชิง
                     คุณภาพ ดังนี้

                             มีพื้นที่เปาหมายของการศึกษาคือ จังหวัดอุบลราชธานี 25 อําเภอประกอบดวย อําเภอ
                     เมืองอุบลราชธานี วารินชําราบ เดชอุดม พิบูลมังสาหาร เขมราฐ เขื่องใน ตระการพืชผล มวง

                     สามสิบ น้ํายืน บุณฑริก ศรีเมืองใหม โขงเจียม กุดขาวปุนนา จะหลวย ตาลสุม โพธิ์ไทร สําโรง สิ
                     รินธร ดอนมดแดง ทุงศรีอุดม นาเยีย นาตาล เหลาเสือโกก สวางวีระวงศ และน้ําขุน

                                ตัวแปรที่ใชในการศึกษา ปจจัยที่มีอิทธิพลตอการปรับตัวของเกษตรกร  ตัวแปรตนคือ
                     เพศ อายุ   จํานวนสมาชิกในครัวเรือน  ระดับการศึกษาของหัวหนาครัวเรือน  การรวมกลุมเปน

                     สมาชิกของครัวเรือน  รายไดรวมของครัวเรือน การออมของครัวเรือน หนี้สินของครัวเรือน ตัวแปร
                     ตามคือ การปรับตัวของเกษตรกร ดานการหารายได และการปรับตัวของเกษตรกรดานการลด

                     รายจาย
                             ตัวแปรที่ใชในการศึกษาปจจัยที่มีอิทธิพลตอแบบแผนการใชจายของครัวเรือนเกษตรกร

                     ผูปลูกขาวตัวแปรตนคือ เพศ  อายุ จํานวนสมาชิกของครัวเรือน  ระดับการศึกษาของหัวหนา
                     ครัวเรือน รวมกลุมเปนสมาชิกของครัวเรือน การจัดทําบัญชีครัวเรือน รายไดรวมของครัวเรือน

                     การออมของครัวเรือน  หนี้สินของครัวเรือน แปรตามคือ แบบแผนการใชจายของครัวเรือน


                            3.3 ประชากรและกลุมตัวอยาง
                                ประชากรไดแก เกษตรกรผูปลูกขาวนาปและนาปรัง จังหวัดอุบลราชธานี ที่ขึ้นทะเบียน

                     กับสํานักงานเกษตรจังหวัดอุบลราชธานี  จํานวน  198,187 ครัวเรือน (สํานักงานเกษตรจังหวัด
                     อุบลราชธานี  2556)

                                 กลุมตัวอยางแบงออกเปน 2 กลุมตามวิธีการศึกษากลุมแรกเปนการศึกษาเชิงปริมาณ
                     กลุมที่สองเปนการศึกษาเชิงคุณภาพ

                                 กลุมตัวอยางกลุมแรกที่ใชในการวิจัยเชิงปริมาณตามวัตถุประสงคขอที่ 1-3 ไดแก
                     เกษตรกร ผูปลูกขาวจังหวัดอุบลราชธานีกําหนดขนาดตัวอยางจากตารางของ krejcie       และ

                     Morgan (1970)  ที่ระดับความคลาดเคลื่อน .05 ไดขนาดตัวอยางจํานวน 384  ครัวเรือน  สุม
                     ตัวอยางโดยอาศัยความนาจะเปน โดยวิธีการสุมอยางงาย (simple random sampling)  ใชการ
   68   69   70   71   72   73   74   75   76   77   78