Page 72 -
P. 72
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
บทที่ 3
ระเบียบวิธีวิจัย
บทที่สามนี้ ผูวิจัยจะกลาวถึงขั้นตอนและกระบวนการวิจัย ที่แสดงถึงเนื้อหาและ
โครงสรางที่เกี่ยวกับขอบเขตของการศึกษา วิธีดําเนินการวิจัย สถานที่ในการทําวิจัย ประชากร
และกลุมตัวอยาง ตัวแปร สถิติที่ใช และการวิเคราะหขอมูล เพื่อใหผูอานไดทราบถึงเงื่อนไขหรือ
วิธีการที่การศึกษาวิจัยเรื่อง “แบบแผนรายไดและการใชจายของครัวเรือนเกษตรกรผูปลูกขาวกับ
การสรางสมดุลในการดํารงชีพกรณีศึกษาจังหวัดอุบลราชธานี” ที่สะทอนใหเห็นลักษณะการ
ดําเนินการที่เกิดขึ้นตามลําดับดังนี้
3.1 ขอบเขตการศึกษา
ประเด็นที่เนนศึกษาคือ แบบแผนการใชจายของครัวเรือนเกษตรกรในระบบการผลิตและ
การดํารงชีพ ที่หมายถึงโครงสรางการใชจายในสินคาและบริการประเภทตางๆ ทั้งที่เปนคาใชจาย
ในภาคการเกษตรและคาใชจายนอกภาคการเกษตร ที่จะถูกกําหนดจากตัวแปรทางเศรษฐกิจ
สังคมที่สะทอนถึงพฤติกรรมการดํารงชีพของผูบริโภค เชน ลักษณะพื้นที่อยูอาศัย วัฒนธรรม
ประเพณีในทองถิ่น และสถานภาพของผูบริโภคในงานศึกษานี้ ผูบริโภคหมายถึงครัวเรือน
เกษตรกรผูปลูกขาวนาปและนาปรัง พื้นที่จังหวัดอุบลราชธานีที่ขึ้นทะเบียนเกษตรกรผูปลูกขาว
ครั้งที่ 1 นาป และขึ้นทะเบียนครั้งที่ 2 ผูปลูกขาวนาปรัง กับสํานักงานเกษตรจังหวัดอุบลราชธานี
ใน ป 2555/56
ดังนั้นคาใชจายของครัวเรือนเกษตรกร ครอบคลุมรายจายทั้งในภาคการเกษตรและนอก
ภาคการเกษตรในลักษณะที่เปนตัวเงิน รายจายในภาคการเกษตรที่เปนตัวเงินไดแก คาจาง
แรงงาน คาวัสดุอุปกรณ คาปุย สารเคมีกําจัดศัตรูพืช คาขนสงทางการตลาด และคาน้ํามัน
เชื้อเพลิง และคาใชจายนอกภาคการเกษตรไดแก สวนคาใชจายนอกภาคการเกษตรไดแก
คาอาหาร คาสาธารณูปโภค คาเลาเรียนบุตร คารักษาพยาบาล และคาเครื่องนุงหม เปนตน
3.2 วิธีดําเนินการวิจัย (research methodology)
ในการศึกษาครั้งนี้ มีรูปแบบของการศึกษาวิจัย 2 รูปแบบผสมผสานกันคือ การวิจัย
เชิงปริมาณ (quantitative) เพื่อใหไดขอมูลทางสถิติที่สามารถตรวจสอบไดในความถูกตองของ
ผลการวิจัย เก็บขอมูลตัวเลขจากกลุมประชากรเปาหมายดวย ดวยวิธีการทางเศรษฐมิติซึ่งเปน
การประยุกตใชวิธีการทางสถิติกับปญหาทางเศรษฐศาสตร มีองคประกอบพื้นฐานที่สําคัญสองสวน
คือทฤษฎีและขอเท็จจริง จะชวยใหเกิดการตีความจากขอมูลอยางมีประสิทธิผล โดยรวมทั้งสอง
สวนเขาดวยกันและใชเทคนิคทางสถิติในการประมาณคา (estimate) ความสัมพันธเชิงเศรษฐกิจ