Page 67 -
P. 67

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

                                                                                                        39





                     การชลประทาน ดินที่อุดมสมบูรณเหมาะแกการเพาะปลูก อากาศที่บริสุทธิ์ และปาไมที่อุดม
                     สมบูรณ เปนแหลงของอาหารที่ไมตองซื้อ ทุนทางการเงิน หมายถึงเงินออมหรือเงินสะสมไวเพื่อ

                     ใชเปนเครื่องมือ เพิ่มความคลองตัวในการทํางานใหบรรลุผลสําเร็จและเกิดประโยชนสูงสุดซึ่งไม
                     ควรเปนเงินที่กูยืมมาและตองจายดอกเบี้ยในอัตราที่สูง สุดทายคือทุนทางกายภาพ หมายถึงสิ่ง

                     อํานวยความสะดวก เชนสาธารณูปโภคที่เปนปจจัยที่จําเปนในการผลิต จะตองเปนไปเพื่อ
                     เอื้ออํานวยใหการทํางานสําเร็จลุลวงและจําเปนจริงๆ ใหเหมาะสมกับฐานะทางเศรษฐกิจของ

                     เกษตรกรเอง
                                วิธีการดํารงชีพควรเปนไปในลักษณะยืดหยุนและปรับใหเหมาะสมกับสภาพพื้นที่และ

                     ครัวเรือนของเกษตรกร เชนหากครัวเรือนมีแรงงาน ก็ไมจําเปนตองจางแรงงานซึ่งมีคาแรงแพง
                     เครื่องจักรและเทคโนโลยีที่ใชในการผลิตตองใหเหมาะสมและตนเองมีความรูในการใชงาน

                     สามารถซอมแซมในเบื้องตนได อีกทั้งจะตองหมั่นเรียนรูในสภาพกาลที่แปรเปลี่ยนอยูตลอดเวลา
                     เพื่อใหเกิดการปรับตัวและตั้งรับกับปจจัยที่เกิดขึ้นทันทีทันใด เพื่อลดความสูญเสียใหนอยลง

                     ทั้งหมดที่กลาวมาเพื่อใหเกิดผลลัพธสุดทายคือ การมีความเปนอยูและคุณภาพชีวิตดีขึ้น ลดความ
                     ยากจนลงมีความยั่งยืนในการใชทรัพยากรและทุนตางๆ ที่มีอยู ดังภาพที่ 2.10







                                                 H
                       ความออนแอ

                       -ความรุนแรง    S                      N       กระบวนการ       วิธีการปรับตัว   ผลลัพธ

                       -แนวโนม               เกษตรกร                จากนโยบาย/      ในการ            สมดุลของ

                     -ฤดูกาล                               อิทธิพล   สถาบัน          ดํารงชีวิต       ชีวิต
                                        P                  F




                         H=ทุนมนุษย
                         S=ทุนทางสังคม

                         N=ทุนทางธรรมชาติ
                         F= ทุนทางการเงิน

                         P=ทุนทางกายภาพ


                                       ภาพที่ 2.10 กรอบการดํารงชีวิตแบบยั่งยืนของเกษตรกร
                                                         ที่มา: ออนไลน
   62   63   64   65   66   67   68   69   70   71   72