Page 64 -
P. 64
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
36
2.8 บทบาทของธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณการเกษตร
ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณการเกษตรเปนหนวยงานประเภทสถาบันการเงินที่มี
ความเกี่ยวของกับเกษตรกรมากที่สุด เพราะถือเปนแหลงเงินทุนกูยืมที่เกษตรกรสามารถเขาถึง
เปนบริการทางการเงินฐานราก ไดอยางทั่วถึง ตรงกับความตองการ และสามารถลดภาระการกูยืม
เงินนอกระบบได โดยใชกระบวนการเสริมสรางความเขมแข็งใหแกชุมชน สงเสริมองคความรูใน
การประกอบอาชีพเพื่อสรางงานเสริมรายไดใหคนในชุมชนสามารถพึ่งตนเองไดเพื่อยกระดับ
คุณภาพชีวิตของเกษตรกรรายยอยสงเสริมองคความรูแกเกษตรกรในเรื่องที่กระทบตอคุณภาพ
ชีวิตและสิ่งแวดลอมอาทิบัตรสินเชื่อเกษตรกร ที่มีวัตถุประสงคใหเกษตรกรลูกคาเกิดความสะดวก
รวดเร็วในการจัดซื้อวัสดุอุปกรณการเกษตรลดภาระคาใชจายในการจัดหาปจจัยการผลิตของ
เกษตรกรลูกคา เพิ่มชองทางการจัดหาปจจัยการผลิตใหแกเกษตรกรลูกคา สรางความปลอดภัยใน
ชีวิตและทรัพยสินของเกษตรกรลูกคาจากมิจฉาชีพและโครงการพัฒนาชุมชนตนแบบตามหลัก
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและทฤษฎีใหมเปนตนเนื่องจากมีวัตถุประสงคเพื่อสงเสริมให
เกษตรกรนําแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงไปใชเปนแนวทางในการดํารงชีวิต และการดําเนินกิจกรรม
ดานการเกษตรซึ่งก็เปนแนวทางที่ดี หากเกษตรกรมีระเบียบวินัยในการใชจายเงิน
ถึงแมวาจะมีธนาคารพาณิชยหลายแหง หรือสหกรณตางๆ แตบทบาทของธนาคารเพื่อ
การเกษตรและสหกรณการเกษตรจะมีความโดดเดนในการเปนสถาบันการเงินเพื่อเกษตรกร ดังจะ
เห็นไดจากโครงการสินเชื่อ และโครงการพัฒนาเกษตรกร ที่ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ
การเกษตรไดดําเนินการลวนมีบทบาทโดยตรงกับเกษตรกร ดังนั้นในงานวิจัยนี้ จึงมุงศึกษา
บทบาทของธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณการเกษตรมากกวาสถาบันการเงินอื่นๆ
โดยเฉพาะขอมูลที่เกษตรกรฝากเงินหรือการออมเงิน การใชบริการสินเชื่อเพื่อการเกษตร เพื่อดูวา
เกษตรกรมีการทําธุรกรรมเกี่ยวกับการเงินในสถาบันการเงินใดมากที่สุด เกษตรกรมีทางเลือกจาก
สถาบันการเงินอื่นอีกหรือไม
วิถีชีวิตของเกษตรกรผูปลูกขาวโดยเฉพาะชาวอีสาน หากมองยอนไปในอดีตที่ผานมาจะ
มีวิถีชีวิตที่สอดคลองกับหลักคําสอนของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวโดยเฉพาะการดํารงตนให
พอมีพอกิน เหมะสมฐานะทางเศรษฐกิจของตนเอง แตเนื่องจากกระแสบริโภคนิยม และวิถีการ
ผลิตที่เปลี่ยนแปลงไปทําใหเกษตรกรสวนใหญตองติดอยูกับกระแสทุนนิยมจนไมสามารถ
หลีกเลี่ยงได ความกังวลหวงใยของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวที่มีใหกับพสกนิกรชาวไทย จึงถูก
ถายทอดและพร่ําสอนในรูปแบบปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงที่พระองคทานสะทอนในสิ่งที่ทาน
ไดทดลองปฏิบัติในโครงการตางๆ ตลอดระยะเวลามากกวา 30 ป ใหเห็นหลักการดํารงชีวิตอยาง
พออยูพอกิน ใหยืนไดดวยลําแขงของตนเอง การใชจายภายในกําลังความสามารถของตัวเองการ
มีภูมิคุมกันที่สําคัญที่สุดคือการไมเปนหนี้แตถาหากมีความสามารถในการจัดการกับหนี้ได ก็ไม
เปนปญหาแตอยางใด ในสภาพที่พบเห็นเกษตรกรสวนใหญสรางหนี้ที่ไมสมเหตุสมผล กูเงินมาใช
ในสิ่งที่ไมกอใหเกิดรายได หรือใชจายในสิ่งที่ฟุมเฟอยโดยไมประมาณตน ซึ่งลักษณะนี้เปนการ