Page 65 -
P. 65

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

                                                                                                        37





                     ทําลายภูมิคุมกันของตนเองซึ่งหากมีอะไรมากระทบไมวาจากภายในและภายนอกยอมจะใชชีวิต
                     อยางยากลําบาก

                                 จากการเขาถึงแหลงเงินกูยืมที่สะดวกขึ้นรวมทั้งมาตรการใหเครดิตสินเชื่อ เครดิตสินคา
                     ที่ผอนปรนจูงใจใหมีการซื้อสินคาเงินผอนในสารพัดรูปแบบประกอบกับการชวยเหลือของภาครัฐ

                     เชิงสวัสดิการสําคัญครัวเรือนที่มีรายไดนอยและหรือมีการศึกษาต่ําจะเปนกลุมที่มีการออมต่ําและมี
                     ปญหาตอการวางแผนการออมดวยเนื่องจากคาครองชีพในปจจุบันไดเพิ่มสูงขึ้นมากทําให

                     ประชาชนเดือดรอนจากขาวของแพงรวมทั้งพฤติกรรมการบริโภคทําใหประชาชนจับจายใชสอย
                     และเปนหนี้สินกันมากขึ้น นํามาซึ่งความไมสมดุลระหวางรายไดกับรายจายที่สถาบันการเงินเพื่อ

                     การเกษตรของรัฐ (ธ.ก.ส.) กลายเปนสวนหนึ่งของกับดักหรือกระบวนการขูดรีดที่ทําใหเกษตรกร
                     ถลําลึกสูหนี้สินมากขึ้นนโยบายรัฐนั้นเองคือการทําลายเงื่อนไขของความพอเพียงและผลักดัน

                     เกษตรกรเขาสูวงจรการหมุนเวียนของทุนอยางไมสิ้นสุด ทั้งนี้ภาครัฐตองไมลืมวาเกษตรกรสวน
                     ใหญจบการศึกษาในระดับประถมศึกษาพวกเขายอมมีขอจํากัดในวิธีคิดและการวางแผนที่

                     ครอบคลุมที่มาจากกระแสทุนนิยมที่ทะลักเขามาในวงจรชีวิต



                     2.9 การดํารงชีพอยางยั่งยืน
                             แนวทางการดํารงชีพแบบยั่งยืนเปนวิธีที่จะชวยใหเกิดความเขาใจของการดํารงชีวิตของ

                     คนยากจนที่ยึดโยงอยูกับปจจัยหลักที่มีผลตอวิถีชีวิตของพวกเขา ความสัมพันธระหวางปจจัย
                     สามารถใชในการวางแผนกิจกรรมและประเมินผลงานที่มีองคประกอบสําคัญ 2 อยางคือ กรอบที่

                     จะชวยทําความเขาใจในความซับซอนของความยากจน และหลักการเพื่อเปนแนวทางการ
                     ดําเนินการเพื่อแกไขและเอาชนะความยากจน ในงานวิจัยนี้กลุมตัวอยางคือเกษตรกรผูปลูกขาว

                     หรือชาวนา
                             แนวทางการดํารงชีพอยางยั่งยืน (Sustainable Livelihoods Approach) มีวัตถุประสงคที่

                     จะศึกษาและทําความเขาใจระบบการดํารงชีวิต ในลักษณะการใชทรัพยากรที่เกี่ยวของกับวิถีชีวิต
                     ใหเปนไปในลักษณะเกื้อกูลกัน ซึ่งเปนการสนับสนุนโอกาสในการปรับปรุงลดความยากจน ใหมี

                     คุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น โดยเฉพาะประชากรที่อยูในเขตชนบท การทําความเขาใจการดํารงชีพอยาง
                     ยั่งยืนอาศัยแนวความคิดหลัก 7 ประการ

                             1. แนวทางการดํารงชีพอยางยั่งยืนมีคนเปนศูนยกลาง (Be people-centred) เริ่มตนโดย
                     การวิเคราะหวิถีชีวิตของผูคนและวิธีที่พวกเขามีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา คนที่ตัวเองมีสวนรวม

                     ตลอดวงจรโครงการ
                               2. แนวทางการดํารงชีพอยางยั่งยืนมีลักษณะเปนแบบองครวม (Be holistic) เปนที่ยอมรับ

                     วาคนที่นํามาใชหลายกลยุทธที่จะรักษาวิถีชีวิตของพวกเขาและวานักแสดงหลายคนที่เกี่ยวของ
                     เชนภาคเอกชนกระทรวงองคกรชุมชนและองคการระหวางประเทศ

                               3. แนวทางการดํารงชีพอยางยั่งยืนเปนแบบไดนามิก (Be dynamic) พยายามที่จะเขา
                     ใจความเชื่อมโยงลักษณะของการดํารงชีวิตและสิ่งที่มีอิทธิพลตอพวกเขา
   60   61   62   63   64   65   66   67   68   69   70