Page 68 -
P. 68

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

                                                                                                        40





                              การใชยุทธศาสตรในการดํารงชีพจะตองมีการใชตนทุนในการประกอบกิจกรรมตางๆ
                     ซึ่งทุนมีอยู 5 ชนิดดวยกัน ประกอบดวย 1) ทุนทางดานทรัพยากรมนุษย ไดแก ความชํานาญ

                     เฉพาะทาง การศึกษาและสุขภาพอนามัย 2) ทุนทางดานกายภาพ ไดแก โครงสรางพื้นฐานและสิ่ง
                     ที่จําเปนตอการดํารงชีพ ประกอบไปดวย เสนทางคมนาคม ที่อยูอาศัยที่มีความมั่นคง มีน้ําสะอาด

                     และพลังงานอยางเพียงพอ 3) ทุนทางดานสถาบันการเงิน ไดแก ฐานะทางการเงิน การออม และ
                     การเขาถึงแหลงเงินทุน 4) ทุนทางดานทรัพยากรธรรมชาติ เชน ที่ดิน แหลงน้ํา และ 5) ทุน

                     ทางดานสังคม ไดแก โครงขายทางดานสังคม และความรวมมือกันทางสังคม (Ellis and Freeman
                     2005) ซึ่งตนทุนทั้ง 5 ชนิดนั้นมีการเชื่อมโยงกันอยูในลักษณะที่แตกตางกันไป เชน ตนทุน

                     ทางดานทรัพยากรมนุษยจะเชื่อมโยงกับทุนทางดานสังคมดวยการศึกษาและสุขภาพอนามัย เปน
                     ตน


                     2.10 การบริหารการเงินภาคครัวเรือน

                            การมีแบบแผนการใชจายเงินก็เปนสวนหนึ่งของการบริหารการเงินภาคครัวเรือน
                     วัตถุประสงคของการถือเงินสวนหนึ่งนําไปสูการใชจายเงิน ซึ่งวัตถุประสงคของการถือเงินไดแก

                     (1) เพื่อการจับจายใชสอยที่เกิดจากความจําเปนในระบบเศรษฐกิจใหเพียงพอตอการใชจายใน
                     ชีวิตประจําวันซึ่งจะมากหรือนอยขึ้นอยูกับรายไดของแตละบุคคลที่มาจากปจจัยอื่นๆ เชน อาชีพ

                     มาตรฐานการครองชีพ (2) เพื่อเหตุฉุกเฉินในกรณีที่เจ็บปวยและอุบัติเหตุที่ไมคาดคิดซึ่งมาจาก
                     รายไดของบุคคลเชนเดียวกัน (3) เพื่อเก็งกําไร ทําใหเกิดมูลคาเพิ่มเชนการออมเงินเพื่ออัตรา

                     ดอกเบี้ย (อางในบัญชา  ไตรวิทยาคุณ 2532)
                            ปจจุบันเงินเปนเครื่องมือในการสรางรากฐานชีวิตของครัวเรือน ใชเพื่อการแลกเปลี่ยน

                     สินคาและบริการ การวางแผนการเงินสําหรับเกษตรกรเพื่อสรางสมดุลในชีวิตนั้นจําเปนตองมีหลัก
                     สําหรับผูที่มีรายไดไมพอกับคาใชจายมี 2 ทางเลือกคือพยายามตัดหรือลดรายจายที่ไมจําเปนกับ

                     การตองทํางานพิเศษเพื่อหารายไดเสริมทางเลือกและการตัดสินใจนี้ก็ถือเปนสวนหนึ่งของการ
                     วางแผนการเงินมีหลักวาทุกครั้งที่มีรายไดตองเจียดไวเก็บออมสวนหนึ่งทุกครั้งกอนนําไปใชจาย

                     เพื่อการดํารงชีวิตวางแผนการใชจายคือจัดแบงรายจายใหเปนหมวดหมูคนสวนใหญจะแบงใชเปน
                     คาที่อยูอาศัยคาสาธารณูปโภคคาอาหารคาเสื้อผาคารักษาพยาบาลคาใชจายบันเทิงพักผอน

                     ทองเที่ยวและอาจมีคาใชจายบางอยางที่ตองเก็บออมไวเพื่อใชในวันหนาเชนคาเลาเรียนบุตรหรือ
                     เงินเก็บเผื่อฉุกเฉินการกอหนี้สินใหกอเทาที่มีกําลังจะผอนชําระอยากอหนี้เกินตัว

                               หลักการใชเงินคือตองใชนอยกวาที่หาไดซึ่งหมายความวาหากเงินที่หามาไดไมพอใชก็มี
                     อยูสองทางเลือกคือพยายามประหยัดใชนอยลงหรือตองหารายไดพิเศษเสริมการเดินสายกลางจะ

                     ชวยใหเราใชชีวิตอยางมีคุณภาพมีสมดุลทําบัญชีรายรับ – รายจายซึ่งจะเกิดประโยชนชวยปองกัน
                     ความขัดสนทางการเงินไดเปนอยางดีเพราะทําใหเรารูวาเราเปนหนี้สินใครเทาไรจะไดวางแผนใช

                     คืนอยางเหมาะสมเศรษฐกิจพอเพียงเปนเสมือนรากฐานของชีวิตประหยัดตัดทอนคาใชจายที่ไม
                     จําเปนลดละความฟุมเฟอยในการดํารงชีพอยางจริงจังไมฟุงเฟอไมหวังร่ํารวยทางลัดประกอบ
   63   64   65   66   67   68   69   70   71   72   73