Page 71 -
P. 71

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

                                                                                                        43





                     สงผลตอนโยบายยุทธศาสตรชาติที่สําคัญในการเสริมศักยภาพเกษตรกรที่ไดขึ้นชื่อวาเปนกระดูก
                     สันหลังของชาติตอไป

                               งานในอดีตที่ผานมายังไมมีการศึกษาแบบแผนการใชจายของครัวเรือนเกษตรกรไทย
                     เพื่อใหเกิดสมดุลในการดํารงชีพ โดยการวิเคราะหผลกระทบที่มาจากสภาพโลกาภิวัตน ขอมูลที่

                     คนพบจากวรรณกรรมปริทัศน คือรายไดหรือคาใชจายจะสะทอนถึงแบบแผนการใชจายในการ
                     อุปโภคและบริโภคในหมวดคาใชจายตางๆ ของครัวเรือนซึ่งครัวเรือนที่มีระดับรายไดที่แตกตางกัน

                     ยอมจะมีแบบแผนการบริโภคที่แตกตางกันแตยังไมสามารถตอบโจทยของชาวนาไดในการดํารง
                     ชีพแบบยั่งยืนเนื่องจากสมดุลในชีวิตเกษตรกรนั้นมีปจจัยเงื่อนไขตางๆ เขามาเกี่ยวของโดยเฉพาะ

                     วงจรการขูดรีดที่มาจากนโนยายตางๆ ของภาครัฐไดสงผลกระทบทั้งทางตรงและทางออม ซึ่ง
                     ความหมายของคําวาสมดุลในการดํารงชีพในงานวิจัยนี้ หมายถึงการมีชีวิตที่พอเพียง เปนสุขไม

                     กดดันจากกระแสโลกาภิวัตนหรือทุนนิยมที่รุกคืบเขามาในระบบการดํารงชีพ
                                ในงานวิจัยนี้ นอกจากดูแบบแผนการใชจายในลักษณะที่มาของรายไดและรายจายที่จาย

                     ไปของเกษตรกร วามีความสมดุลกันหรือไมอยางไรนั้น ในงานนี้ยังหมายรวมถึงการนําทุนตางๆ ที่
                     เปนตนทุนในชีวิตมีหลักบริหารจัดการอยางไรภายใตขอจํากัดของความเปนเกษตรกรที่ไดขึ้นชื่อ

                     วายังไม “หลุดพนจากความยากจน” ดังนั้นงานวิจัยเรื่องนี้จึงมุงเนนไปที่การศึกษาพฤติกรรม การ
                     ปรับตัว ของเกษตรกรที่พยายามแสวงหาแนวทางอยูรอดจากการเกิดวิกฤตการณในรูปแบบตางๆ

                     เชน การหารายไดเพิ่มทั้งในภาคการเกษตรและนอกภาคการเกษตร การใชจายของครัวเรือนใน
                     ยุคที่เศรษฐกิจและสังคมเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา ปจจัยการผลิตทางการเกษตรมีราคาสูง ในขณะที่

                     ราคาผลผลิตไมเพิ่มขึ้นมากนัก เพื่อลดความเสี่ยงจากการเปลี่ยนแปลงอยางตอเนื่องทางดาน
                     เศรษฐกิจและสังคมดวยการปรับสมดุลในการดํารงชีพโดยใชกรอบแนวคิดของปรัชญาเศรษฐกิจ

                     พอเพียงในระดับขั้นตนคือกลุมบุคคลและครัวเรือน
   66   67   68   69   70   71   72   73   74   75   76