Page 76 -
P. 76

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

                                                                                                        48





                     ครัวเรือนเกษตรกร ตอนที่ 4 ความสามารถในการออมของครัวเรือนเกษตรกร และตอนที่ 5  การ
                     ปรับตัวของครัวเรือนเกษตรกร

                           การทดสอบความเชื่อมั่นของแบบสอบถาม โดยหาคาสัมประสิทธิ์แอลฟาตามวิธีของ
                     Cronbach เครื่องมือที่ใชในการวิจัยเชิงคุณภาพ ไดแก แบบสัมภาษณ  เทปบันทึกเสียง  การจด

                     บันทึก  และตัวผูวิจัย


                                 3.5 การเก็บรวบรวมขอมูล
                                 1) การเก็บรวบรวมขอมูลปฐมภูมิ (primary data)  เชิงปริมาณดวยการลงพื้นที่เก็บขอมูล

                     จากเกษตรกรผูปลูกขาวนาป โดยใชแบบสอบถาม  จํานวน 384 ชุด ตรวจสอบความถูกตองของ
                     แบบสอบถามหลังการเก็บขอมูล การเก็บรวบรวมขอมูลเชิงคุณภาพโดยใชแบบสัมภาษณจาก

                     เกษตรกร กลุมตัวอยาง 12 ครัวเรือน
                                    2) ขอมูลทุติยภูมิ (secondary data) เปนขอมูลที่ไดจากการเก็บรวบรวมจากเอกสารทาง

                     วิชาการ เอกสารเผยแพร และผลการศึกษาของหนวยงานตางๆ ที่เกี่ยวของ ไดแก ขอมูลเชิงพื้นที่
                     จังหวัดอุบลราชธานี   สถานะทางเศรษฐกิจและสังคมของเกษตรกร   การปรับตัวของครัวเรือน

                     ผลกระทบของโลกาภิวัตนที่เกิดการเปลี่ยนแปลงทาดานเศรษฐกิจและสังคม  และภาวะเศรษฐกิจ
                     เปนตน


                            3.6 การวิเคราะหขอมูล

                             การวิเคราะหขอมูลเชิงปริมาณ  ใชการวิเคราะหเชิงพรรณนา (descriptive analysis) ดวย
                     คาความถี่ คาเฉลี่ย และคารอยละ นําเสนอขอมูลในรูปแบบตารางและการบรรยายสรุปผลการวิจัย

                             การวัดระดับการปฏิบัติของเกษตรกรในการปรับตัวเพื่อสรางสมดุลเพื่อการดํารงชีพ

                     กําหนดใหคะแนนระดับการปรับตัวของเกษตรกร ดังนี้ (บุญชม  ศรีสะอาด 2541: 99)
                                  ระดับการปรับตัวมากที่สุด      กําหนดให     5  คะแนน

                                  ระดับการปรับตัวมาก            กําหนดให     4  คะแนน
                                  ระดับการปรับตัวปานกลาง        กําหนดให     3  คะแนน

                                  ระดับการปรับตัวนอย           กําหนดให     2  คะแนน
                                  ระดับการปรับตัวนอยที่สุด     กําหนดให     1  คะแนน

                                จากนั้นหาคาเฉลี่ยของระดับการปรับตัว โดยกําหนดเกณฑการแปลผล ดังนี้ (บุญชม
                     ศรีสะอาด 2541: 99)

                                  คาเฉลี่ย  4.51-5.00   หมายถึง     ใหระดับการปรับตัว อยูในระดับมากที่สุด
                                  คาเฉลี่ย  3.51-4.50   หมายถึง     ใหระดับการปรับตัว อยูในระดับมาก

                                  คาเฉลี่ย  2.51-3.50   หมายถึง     ใหระดับการปรับตัว อยูในระดับปานกลาง
                                  คาเฉลี่ย  1.51-2.50   หมายถึง     ใหระดับการปรับตัว อยูในระดับนอย

                                  คาเฉลี่ย  1.00-1.50   หมายถึง     ใหระดับการปรับตัว อยูในระดับนอยที่สุด
   71   72   73   74   75   76   77   78   79   80   81