Page 81 -
P. 81
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
บทที่ 4
การวิเคราะหผลการศึกษาและการอภิปรายผล
ในบทนี้ ผูวิจัยไดนําเสนอผลการวิเคราะหขอมูลในเชิงปริมาณผสมผสานกับเชิงคุณภาพ
ประกอบดวยขอมูลทั่วไปของเกษตรกรผูปลูกขาว สภาพทางเศรษฐกิจ สังคมและแหลงที่มาของ
รายได ภาระหนี้สินของครัวเรือนเกษตรกรผูปลูกขาว ปจจัยที่มีผลกระทบตอการปรับตัวของ
ครัวเรือนเกษตรกร ปจจัยที่มีอิทธิพลตอแบบแผนการใชจายของครัวเรือนเกษตรกรผูปลูกขาว และ
วิธีการปรับตัวที่สําคัญของเกษตรกรที่เปนวิธีการลดรายจายและวิธีการเพิ่มรายได ซึ่งการนําเสนอ
ในบทนี้จะนําเสนอผลการวิเคราะหขอมูลและการอภิปรายผลไปพรอมกันเพื่อใหเกิดความชัดเจน
ในผลการศึกษาในลักษณะที่เปนปรากฏการณ ตามลําดับดังนี้
4.1 ขอมูลทั่วไปของเกษตรกรผูปลูกขาว
เกษตรกรผูปลูกขาวจังหวัดอุบลราชธานีที่ทํางานเปนหลักในไรนาพบวา สวนใหญเปน
เพศหญิง (รอยละ 60.94 ) อายุต่ํากวา 50 ป (รอยละ 57.29 ) การศึกษาระดับประถมศึกษา (รอย
ละ 71.40) รองลงมามัธยมศึกษาตอนปลายหรือประกาศนียบัตรวิชาชีพ ปวช. (รอยละ 12.00 )
อายุเฉลี่ยคือ 48.60 ป ดังตารางที่ 4.1
สาเหตุที่เกษตรกรผูทํานาเปนหลักสวนใหญเปนเพศหญิงเนื่องจากการปรับตัวของ
ครัวเรือนเกษตรกรในปจจุบันไดเกิดการเปลี่ยนแปลงขึ้น โดยที่ผูชายจะออกไปรับจางนอกภาค
การเกษตรในการเปนลูกจางตามโรงงาน บริษัท หางรานหรือ หนวยงานราชการในลักษณะการใช
แรงงาน เพื่อนําเงินคาจางมาใชจายในครัวเรือนจึงพบวาผูที่เปนหลักในการทํานาปลูกขาวกลับ
กลายเปนเพศหญิง
อยางไรก็ตาม ในสภาพเศรษฐกิจและสังคมที่เปลี่ยนแปลงไปถึงแมวาเพศชายจะคอย
สอดสองหาโอกาสในการทํางานเพื่อเพิ่มรายได ในการรับจางนอกภาคการเกษตร แตเนื่องจาก
สวนใหญมีการศึกษาในระดับประถมศึกษาจึงมีขอจํากัดในเรื่องทุนและความรูทางวิชาการ
ทางเลือกในการประกอบอาชีพจึงมีไมมากนัก เพราะระดับการศึกษา เปนปจจัยหนึ่งที่สงผลตอ
รายไดและความเปนอยูของครัวเรือนในระยะยาวเพราะการศึกษาถือเปนทุนมนุษยที่สําคัญในการ
เปนเครื่องมือสําหรับการหารายได หากทุนมนุษยมีจํากัด ความสามารถในการหารายไดยอมมี
จํากัดตามทุนมนุษย ตามไปดวย