Page 75 -
P. 75
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
47
ตารางที่ 3.1 แสดงจํานวนกลุมตัวอยางในเชิงปริมาณ (ตอ)
ลําดับที่ อําเภอ จํานวนเกษตรกรที่ขึ้น จํานวนกลุมตัวอยาง
ทะเบียน
24 น้ําขุน 3,441 7
25 เขื่องใน 15,254 30
รวม 198,187 384
ที่มา: สํานักงานเกษตรจังหวัดอุบลราชธานี 2556
กลุมตัวอยางกลุมที่สองใชในการวิจัยเชิงคุณภาพตามวัตถุประสงคขอที่ 4 ไดแก
เกษตรกรผูปลูกขาว จํานวน 12 ครัวเรือน คัดเลือกจากกลุมตัวอยางการวิจัยเชิงปริมาณ ใชการ
เลือกกลุมตัวอยางแบบเจาะจง (purposive sampling) โดยลักษณะกลุมตัวอยางที่เลือกเปนไปตาม
วัตถุประสงคของการวิจัยเพื่อใหไดแบบแผนการใชจายที่เปนแบบอยางที่ดี (best practices) ให
เกษตรกรรายอื่นๆ โดยมีเกณฑการเลือกสําคัญดังนี้ ครัวเรือนมีอาชีพเสริม ครัวเรือนมีการออม
ครัวเรือนมีการเรียนรูปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และครัวเรือนรูจักใชเทคโนโลยีที่เหมาะสมใน
ระบบการผลิตเชนรูจักใชปุยชีวภาพในการเพาะปลูก ดังตารางที่ 3.2
ตารางที่ 3.2 ครัวเรือนเกษตรกรตัวอยางใหขอมูลเชิงคุณภาพ
ลําดับที่ ครัวเรือนตัวอยาง อําเภอ
1 2 ครัวเรือน สําโรง
2 2 ครัวเรือน วารินชําราบ
3 2 ครัวเรือน เมือง
4 1 ครัวเรือน เมือง
5 1 ครัวเรือน เขื่องใน
6 1 ครัวเรือน เดชอุดม
7 1 ครัวเรือน เขมราฐ
8 1 ครัวเรือน สวางวีระวงศ
9 1 ครัวเรือน พิบูลมังสาหาร
3.4 เครื่องมือที่ใชในการวิจัย
เครื่องมือที่ใชในการวิจัยเชิงปริมาณ ไดแก แบบสอบถาม ซึ่งสรางตามขอบเขตและกรอบ
แนวคิดของการวิจัย แบงออกเปน 4 ตอน ตอนที่ 1 ขอมูลทั่วไปของครัวเรือนเกษตรกร ตอนที่ 2
สภาพทางเศรษฐกิจ สังคมและแหลงที่มาของรายได ตอนที่ 3 รายจาย และภาระหนี้สินของ