Page 41 -
P. 41

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

                                                                                                    3-10





               ประโยชนน้ําใตดินใหสอดคลองกับศักยภาพ รวมทั้งสํารวจและติดตามสถานการณแผนดินทรุดเพื่อประกาศ
               เขตควบคุมการใชน้ําบาดาลและแกปญหาการลดลงของน้ําใตดิน (4) ใหมีการเก็บคาบริการใชน้ําดิบ โดยเริ่ม
               จากการใชน้ําเพื่ออุตสาหกรรม พาณิชยกรรม และการประปา ควบคูกับการรณรงคและสรางแรงจูงใจให
               ประชาชนมีจิตสํานึกในการรักษาคุณภาพแหลงน้ําและใชน้ําอยางคุมคา  (5)  พัฒนาระบบการพยากรณ
               ทรัพยากรน้ํา เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการ เอื้ออํานวยตอการแกไขปญหาน้ําขาดแคลน

               การปองกันน้ําทวม และจัดหาน้ํา (6) จัดทําแผนหลักการบริหารจัดการทรัพยากรน้ําแบบบูรณาการในระดับ
               ลุมน้ํา โดยใหความสําคัญกับการจัดการคุณภาพน้ําและการจัดการพื้นที่ลุมน้ําวิกฤตพรอมกับเนนการมีสวน
               รวมของชุมชนและประชาชนในการดําเนินการ

                              สวนนโยบายที่คณะรัฐมนตรีแถลงตอรัฐสภา มีความสอดคลองกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและ
               สังคมแหงชาติ ฉบับที่ 9 ในเรื่องการพัฒนาแหลงน้ํา การใชน้ําใหมีประสิทธิภาพอยางยั่งยืนและเปนธรรม
               อยางไรก็ตามนโยบายดังกลาวนี้ไมครอบคลุมในเรื่องของการมีสวนรวมของชุมชนและประชาชน
                              ในดานนโยบายจากมติคณะรัฐมนตรีและดําเนินการนั้น มีสวนที่สอดคลองกับแผนพัฒนา

               เศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 9 ดังนี้ ดานการบริหารจัดการทรัพยากรน้ํา ไดมีการจัดทํายุทธศาสตร
               การบริหารจัดการทรัพยากรน้ํา ในลุมน้ําแบบบูรณาการ 4 ยุทธศาสตร คือ (1) การสรางเสถียรภาพน้ําตนทุน
               (2) การพัฒนาพื้นที่แกมลิง (3) การพัฒนาและจัดสรรน้ําในพื้นที่ประสบภัยแลงซ้ําซาก และ (4) การรักษา
               คุณภาพน้ําของแหลงน้ําและสรางความตระหนักในคุณคาน้ํา โดยมีการแตงตั้งคณะกรรมการพัฒนาลุมน้ํามูล

               และมีการรักษาโครงการจัดทําแผนแมบทการพัฒนาลุมน้ําทะเลสาบสงขลา
                              กรณีแนวทางการจัดการคุณภาพน้ําใตดิน ไดมีการกําหนดอัตราคาอนุรักษน้ําบาดาลเพื่อลด
               การทรุดตัวของแผนดิน มีการพัฒนาระบบการปองกันและชวยเหลือประชาชนในกรณีการเกิดอุทกภัย โดยการ
               จัดทําระบบ Early Warning การจัดหาน้ําเอนกประสงคนั้น ในชวงแผนพัฒนาฯ นี้ มีการกอสรางเขื่อนขนาดใหญ

               (ความจุ 100 ลาน ลบ.ม ขึ้นไป) มีแหงเดียวคือเขื่อนกิ่วคอหมา สวนแหลงน้ําขนาดกลาง ขนาดเล็ก และบอน้ําใน
               ไรนามีการดําเนินการอยางตอเนื่อง รวมทั้งการเก็บคาน้ําดิบจากทางน้ําชลประทาน มีการแกไขปญหาการ
               ขาดแคลนน้ําเพื่ออุตสาหกรรมในภาคตะวันออก โดยการขุดเจาะบอบาดาล วางทอจากอางเก็บน้ําประแสร

               มายังนิคมอุตสาหกรรม สวนน้ําอุปโภคและบริโภคมีการจัดหาในพื้นที่บนเกาะที่เปนแหลงทองเที่ยวที่สําคัญ เชน
               เกาะสมุย และเกาะภูเก็ต การชวยเหลือประชาชนที่ประสบภัยพิบัติทั้งภัยแลงและอุทกภัย ดําเนินการ
               เชนเดียวกับชวงแผนพัฒนาที่ผานมา
                              ในสวนการดําเนินการตามนโยบายที่คณะรัฐมนตรีแถลงตอรัฐสภานั้น ไดมีการรณรงค
               กอสรางฝายแมวตามพระราชดําริ “โครงการ 80 พรรษา 80 พันฝาย” ในกรณีการควบคุมมลพิษในแหลงน้ํา

               และการบําบัดน้ําเสีย ไดมีการนําเงินกองทุนสิ่งแวดลอมมาใชในการกอสรางระบบรวบรวมน้ําเสีย และการ
               แกไขปญหาเลี้ยงกุงกุลาดําในพื้นที่น้ําจืด
                              ในป 2545 ไดมีการจัดตั้งกรมทรัพยากรน้ําและกรมทรัพยากรน้ําบาดาล ตามนโยบายที่

               รัฐบาลคณะที่ 54 ไดแถลงไวเมื่อวันที่ 26 กุมภาพันธ 2544 เรื่องการพัฒนาประสิทธิภาพการบริหารจัดการ
               ทรัพยากรน้ําในทุกระดับ
                              อยางไรก็ตามมีขอสังเกตวาในชวงแผนพัฒนาฯ ฉบับนี้ ซึ่งอยูในชวงของรัฐบาลคณะที่ 54
               และคณะที่ 55 ไมมีการเสนอรางพระราชบัญญัติทรัพยากรน้ํา ที่เคยดําเนินการมาในชวงแผนพัฒนาฯ ฉบับที่

               7 และ 8 แตอยางใด
   36   37   38   39   40   41   42   43   44   45   46