Page 37 -
P. 37

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

                                                                                                     3-6





               เกษตรชลประทานไดมีการศึกษาโครงการกระจายการผลิตในเขตชลประทานราษฎรภาคเหนือ มีการ
               ชวยเหลือราษฎรที่ประสบภัยพิบัติทั้งภัยแลงและอุทกภัย ไดกําหนดใหป พ.ศ. 2534 เปนปขจัดน้ําเสีย และมี
               การจัดทําระบบกําจัดน้ําเสียในกรุงเทพมหานคร และที่รังสิต ปทุมธานี เชียงใหม ภูเก็ต พัทยา และสกลนคร
               มีการกําหนดชั้นคุณภาพลุมน้ํา ยม-นาน ลุมน้ําชี-มูล ผลจากนโยบายที่สําคัญคือ การจัดตั้งคณะกรรมการ
               ทรัพยากรน้ําแหงชาติ (กทช.) เปนองคกรสูงสุดในการกําหนดนโยบายและแผนงานดานการพัฒนาทรัพยากรน้ํา

               ของประเทศ รวมทั้งจัดตั้ง สํานักงานคณะกรรมการทรัพยากรน้ําแหงชาติ ในสํานักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี
                              อยางไรก็ตามในชวงแผนพัฒนาฯ ฉบับนี้ ไดเริ่มมีการตอตานโครงการเขื่อนน้ําโจน จังหวัด
               กาญจนบุรีและโครงการเขื่อนแกงกรุง จังหวัดสุราษฎรธานี จนรัฐบาลไดมีการชะลอโครงการออกไป

                              มีการกอสรางเขื่อนขนาดใหญ (ความจุ 100 ลาน ลบ.ม ขึ้นไป) ดังนี้  (1) เขื่อนทับเสลา (2)
               เขื่อนหนองปลาไหล (3) เขื่อนกุมภวาป (4) เขื่อนปากมูล
                              จากผลการดําเนินการดังกลาวจึงสรุปไดวานโยบายจาก 3แหลง จะมีความสอดคลองในเรื่อง
               เรื่องการพัฒนาแหลงน้ําขนาดเล็ก การอนุรักษแหลงน้ําโดยการวางระบบกําจัดน้ําเสีย มีการกําหนดชั้นคุณภาพ

               ลุมน้ําในลุมน้ํายม ลุมน้ํานาน ลุมน้ํามูล-ชี รวมทั้งปรับปรุงระบบการบริหาร สวนในเรื่องการพัฒนาระบบขอมูล
               ทรัพยากรน้ํา คณะรัฐมนตรีไดมีมติเมื่อวันที่ 8 กันยายน 2530 ใหหนวยงานที่รับผิดชอบการกอสรางแหลงน้ําสง
               ขอมูลแหลงน้ําขนาดตางๆ ใหคณะกรรมการทรัพยากรน้ําแหงชาติรวบรวม
                              อยางไรก็ตาม ในชวงแผนพัฒนาฯ ฉบับนี้ ถึงแมจะมีการกําหนดใหมีองคกรราษฎรเขามามี

               สวนรวมในการพัฒนาแหลงน้ําก็ตามแตไมมีการดําเนินการ จึงไดมีการตอตานการพัฒนาแหลงน้ําขนาดใหญ
               จากนักวิชาการและราษฎร ในทองที่ที่จะกอสราง เชน เขื่อนน้ําโจน จังหวัดกาญจนบุรี เขื่อนแกงกรุง
               จังหวัดสุราษฎรธานี เขื่อนแกงเสือเตน จังหวัดแพร จนไมสามารถกอสรางได รวมทั้งเขื่อนปากมูลที่มีการ
               ตอตานตั้งแตเริ่มกอสรางจนแลวเสร็จ ก็ยังมีปญหาในการเปดปดประตูน้ํา ในเรื่องนี้ไมมีนโยบายในการแถลง

               ของคณะรัฐมนตรีตอรัฐสภาแตอยางใด นโยบายดังกลาวนี้มาจากมติคณะรัฐมนตรีที่มอบหมายใหหนวยงานตางๆ
               ดําเนินการ

                      แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับที่ 7 (พ.ศ. 2535-2539) อยูในชวงการบริหารของ

               รัฐบาล 4 คณะ คือ รัฐบาลคณะที่ 48 มีพลเอกสุจินดา คราประยูร เปนนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรีคณะที่ 49 มี
               นายอานันท ปนยารชุน เปนนายกรัฐมนตรี รัฐบาลคณะที่ 51 มีนายชวน หลีกภัย เปนนายกรัฐมนตรี และ
               รัฐบาลคณะที่ 50 มีนายบรรหาร ศิลปอาชา เปนนายกรัฐมนตรี
                              ปญหาที่เกี่ยวของกับทรัพยากรน้ําที่ระบุไวในแผนพัฒนาฯ ฉบับนี้คือ ความเสื่อมโทรมของ

               ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมที่นํามาใชในชวงที่ผานมาทําใหเกิดความขัดแยงในการใชน้ําเพื่อกิจกรรมตางๆ
               เนื่องจากมีความตองการสูงขึ้น ดวยเหตุดังกลาวนี้ในแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 7 จึงมีนโยบายและมาตรการ คือ
               (1) จัดทําแผนงานจัดสรรงบประมาณดานการพัฒนาแหลงน้ําทุกประเภทในรูปของกลุมโครงการอยางเปน
               ระบบลุมน้ําที่สอดคลองกับสภาพของปญหา (2) กําหนดใหโครงการพัฒนาแหลงน้ําขนาดกลางมีการพิจารณา

               ถึงความเหมาะสมดานอุทกศาสตร สภาพภูมิศาสตร และผลกระทบตอสิ่งแวดลอม (3)  ใหมีการจัดสรร
               งบประมาณเพื่อการพัฒนาแหลงน้ําขนาดเล็กที่กระจายออกไปอยางทั่วถึงทุกพื้นที่ โดยเนนพื้นที่ฝนตกนอย
               กวาปกติ และพื้นที่นอกเขตชลประทาน (4)  จัดรูปแบบการบริหารและจัดการโครงการแหลงน้ํา  โดยให

               องคกรประชาชนเขามามีสวนรวมในการบริหารและบํารุงรักษาโครงการ และใหหนวยงานของรัฐเปนฝาย
               สนับสนุนดานวิชาการ (5) เรงรัดใหมีการจัดตั้งองคกรระดับชาติ โดยมีกฎหมายรองรับ (6) กําหนดแผนงาน
   32   33   34   35   36   37   38   39   40   41   42