Page 34 -
P. 34

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

                                                                                                     3-3





                      ในชวงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2510-2514) อยูในชวงการบริหาร
               ของรัฐบาลคณะที่ 30 และ 31 ซึ่งมีจอมพลถนอม กิตติขจร เปนนายกรัฐมนตรี
                              ปญหาที่เกี่ยวของกับการพัฒนาทรัพยากรน้ําที่ระบุไวในแผนพัฒนาฯ ฉบับนี้คือ
               การดําเนินงานพัฒนาดานชลประทานมีปญหาในการกูเงิน การเวนคืนที่ดิน การอพยพราษฎรออกจากบริเวณ
               น้ําทวม และการขุดคลองสงน้ําในเขตโครงการชลประทานหลายแหง ดวยเหตุนี้ในแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 2

               จึงไดมีนโยบายที่ตอเนื่องกับแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 1 ในการพัฒนาแหลงน้ําเพื่อการชลประทาน
               ซึ่งสอดคลองกับนโยบายของรัฐบาลที่แถลงตอรัฐสภาที่เนนการพัฒนาดานชลประทาน สวนนโยบายและการ
               ดําเนินการของคณะรัฐมนตรีนั้น

                              มีการพัฒนาแหลงน้ําขนาดใหญและขนาดกลางอยางตอเนื่องจากแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 1 รวมทั้ง
               การจัดหาน้ําอุปโภคบริโภค และงานดานการปลูกพืชครั้งที่ 2 ในเขตลุมน้ําเจาพระยา เริ่มตนการแกไขปญหา
               การระบายน้ําเพื่อปองกันน้ําทวมและระบายน้ําเสียในพระนครและธนบุรี
                              มีการกอสรางเขื่อนขนาดใหญ (ความจุ 100 ลาน ลบ.ม ขึ้นไป) ในชวงแผนพัฒนาฯ ฉบับนี้ 5 แหง

               ดังนี้ (1) อางเก็บน้ําน้ําอูน (2) อางเก็บน้ําทับเสลา (3) เขื่อนสิรินธร (4) เขื่อนจุฬาภรณ (5) อางเก็บน้ําหวยหลวง
               จึงสรุปไดวา “นโยบายจากมติคณะรัฐมนตรีและการดําเนินการ มีความสอดคลองกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจ
               และสังคมแหงชาติ และนโยบายที่คณะรัฐมนตรีแถลงตอรัฐสภา ทั้งการกอสรางระบบชลประทาน การจัดหา
               น้ําอุปโภคและบริโภค และมีนโยบายเพิ่มเติมจากแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 1 ดานการปลูกพืชครั้งที่ 2 ในเขตลุมน้ํา

               เจาพระยา และการแกไขปญหาน้ําเสียและการปองกันน้ําทวมในเขตพระนครและธนบุรี  อยางไรก็ตามไมมีการ
               ดําเนินการเรื่องการเก็บคาน้ําชลประทาน ในแผนพัฒนาฯ ฉบับนี้”

                      แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับที่ 3 (พ.ศ. 2515-2519) อยูในชวงการบริหารของ

               รัฐบาลรวม 7 คณะ คือรัฐบาลคณะที่ 32 มีจอมพลถนอม กิตติขจร เปนนายกรัฐมนตรี รัฐบาลคณะที่ 33
               และ 34 มีนายสัญญา ธรรมศักดิ์ เปนนายกรัฐมนตรี รัฐบาลคณะที่ 35 มี ม.ร.ว. เสนีย ปราโมช เปน
               นายกรัฐมนตรี รัฐบาลคณะที่ 36 มี ม.ร.ว. คึกฤทธิ์ ปราโมช เปนนายกรัฐมนตรี รัฐบาลคณะที่ 37 และ 38
               มี ม.ร.ว. เสนีย ปราโมช เปนนายกรัฐมนตรี

                              ในชวงแผนพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 3 (พ.ศ. 2515-2519) ยังคงมี
               นโยบายการจัดหาน้ําโดยการพัฒนาแหลงน้ําอยางตอเนื่อง รวมทั้งในชวงแผนพัฒนาฯ ฉบับนี้ไดมีปญหาดาน
               สิ่งแวดลอมเกิดขึ้น ดังนั้นในป พ.ศ.  2517  คณะรัฐมนตรีไดมีมติใหมหาวิทยาลัยที่พรอมไดเปดการสอน
               เกี่ยวกับสิ่งแวดลอมระดับปริญญาโทและใหมีการฝกอบรมระยะสั้นไปพรอมกันดวย นอกจากนี้ยังมีการ

               ประกาศใชพระราชบัญญัติสงเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอม พ.ศ. 2518 ซึ่งมีบทบัญญัติมาตรา 17
               ไดกําหนดประเภทของโครงการหรือกิจกรรมที่ตองศึกษาผลกระทบสิ่งแวดลอม ซึ่งมีผลใหมีการกําหนดขนาด
               ของโครงการพัฒนาแหลงน้ําที่ตองศึกษาผลกระทบสิ่งแดลอมในเวลาตอมาเนื่องจากในชวงแผนพัฒนาฯ ฉบับ
               นี้มีรัฐบาลเขามาบริหารประเทศรวม 7 คณะ แตมีนโยบายน้ําอยูในคําแถลงนโยบายของรัฐบาลเพียง 2 คณะ

               คือ คณะที่ 35 และคณะที่ 37 ไดเนนการดําเนินโครงการขนาดเล็ก และเรงรัดโครงการชลประทานขนาด
               ใหญ ใหแลวเสร็จโดยเร็ว สวนรัฐบาลคณะที่ 36 ไดมีนโยบายจัดสรรงบประมาณใหสภาตําบลใชแรงงาน
               พัฒนาทองถิ่นพัฒนาแหลงน้ํา โดยเฉพาะในภาคตะวันออกเฉียงเหนือและภาคกลาง
   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38   39