Page 38 -
P. 38
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
3-7
เพื่อการจัดหาแหลงน้ําดิบสําหรับการประปาและจัดทํามาตรการควบคุมคุณภาพน้ําในแหลงน้ําตางๆ เพื่อ
รองรับการขยายตัวของชุมชน (7) สนับสนุนใหมีการศึกษาในขั้นรายละเอียดเรื่องศักยภาพของแหลงน้ํา
บาดาลทั่วประเทศ และจัดทําแผนแมบทการพัฒนาทรัพยากรน้ําบาดาล (8) สนับสนุนการจัดทําระบบขอมูล
แหลงน้ํา เพื่อประโยชนในการวางแผนและการกําหนดนโยบายจัดสรรน้ํา ปองกันและบรรเทาอุทกภัย (9)
ปรับปรุงอัตราคาใชน้ําจากการชลประทานที่เก็บจากภาคเกษตรกรรมและนอกภาคเกษตรใหเหมาะสมตามปริมาณ
การใชและคํานึงถึงสิทธิการใชน้ํา
สวนสาระสําคัญจากการแถลงนโยบายของคณะรัฐมนตรีตอรัฐทั้ง 4 คณะ มีความสอดคลอง
กับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 7 ในเรื่อง การพัฒนาแหลงน้ําขนาดตางๆ การจัดหาน้ํา
อุปโภคบริโภค และการอนุรักษ การเก็บคาน้ําที่มิใชเพื่อการเกษตรของรัฐบาลคณะที่ 48 ปรับปรุงการบริหาร
การใชน้ํา แตไมมีนโยบายการใหองคกรภาคประชาชนเขามามีสวนรวมในการบริหาร รวมทั้งการจัดตั้งองคกร
ระดับชาติ นอกจากนี้มีความตอเนื่องกับนโยบายของรัฐบาลคณะที่ผานมา ในเรื่องการพัฒนาแหลงน้ําเพื่อ
การเกษตร อุปโภคบริโภค การแกไขปญหาภัยแลง การพัฒนาแหลงน้ําธรรมชาติและการชลประทาน
นโยบายน้ําที่สอดคลองกันระหวางรัฐบาลคณะที่ 48 คณะที่ 49 และคณะที่ 50 คือการนําแหลงน้ํานานาชาติ
เขามาใชในประเทศไทย
นโยบายจากมติคณะรัฐมนตรีและการดําเนินการนั้น ยังคงมีการกอสรางแหลงน้ําขนาดใหญ
ขนาดกลาง ขนาดเล็ก อยางตอเนื่องนอกจากนี้มีการจัดทําโครงการแหลงน้ําในไร-นา ปรับปรุงและขยายกิจการ
ประปาเทศบาลเพื่อจัดหาน้ําอุปโภคบริโภค ไดมีการอนุรักษแหลงน้ําดิบเพื่อการประปาฝงตะวันตกของแมน้ํา
เจาพระยา มีการขยายเขตควบคุมวิกฤติการณน้ําบาดาลและแผนดินทรุดเพิ่มในจังหวัดนครปฐมและ
สมุทรสาคร รวมทั้งการปรับราคาน้ําบาดาลใหใกลเคียงกับน้ําประปา แตมีการขุดเจาะบอบาดาลระดับน้ําตื้น
(บอตอก) เพื่อการเกษตรจํานวน 50,000 บอ ในพื้นที่ภาคกลาง จัดหาน้ําเพื่อการอุตสาหกรรมในพื้นที่ชายฝง
ภาคตะวันตก มีการเตรียมการชวยเหลือราษฎรที่ประสบภัยพิบัติทั้งภัยแลงและอุทกภัย ไดมีการจัดตั้ง
องคการน้ําเสียเปนรัฐวิสาหกิจใน พ.ศ. 2538 เพื่อดําเนินการบําบัดน้ําเสีย
ไดมีการเสนอรางพระราชบัญญัติทรัพยากรน้ําตอรัฐบาล โดยคณะกรรมการทรัพยากรน้ํา
แหงชาติ แตไดมีการถอนออกจากการพิจารณาของคณะรัฐมนตรี รวมทั้งสภาผูแทนราษฎรไดเสนอใหมีการ
จัดตั้งกระทรวงทรัพยากรน้ําแตไมมีผลในทางปฏิบัติ เนื่องจากมีการรองเรียนจากประชาชนที่ไดรับผลกระทบ
จากการสรางเขื่อนปากมูล จึงไดมีการจายเงิน “คาชดเชยอาชีพประมง” ในป 2540 สมัชชาคนจนไดมีการ
ตอตานโครงการเขื่อนขนาดใหญหลายแหง เชน เขื่อนทาแซะ-รับรอ โปรงขุนเพชรและแกงเสือเตน
มีการกอสรางเขื่อนขนาดใหญ (ความจุ 100 ลาน ลบ.ม ขึ้นไป) 2 แหง คือ (1) เขื่อนปาสักชลสิทธิ์
(2) อางเก็บน้ําคลองสียัด
นโยบายจากมติคณะรัฐมนตรีและการดําเนินการ มีความสอดคลองกับแผนพัฒนา
เศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 7 และนโยบายจากการแถลงของคณะรัฐมนตรีตอรัฐสภา ในเรื่องการ
จัดหาน้ําโดยการพัฒนาแหลงน้ําขนาดตางๆ การขยายการชลประทาน การพัฒนาน้ําบาดาล ทั้งเพื่อการเกษตรและ
การอุปโภคบริโภค การแกไขคุณภาพน้ําที่กําหนดไวในแผนพัฒนาฯ ตั้งแตฉบับที่ 2 เปนตนมา มีการดําเนินการ
ในเรื่องการจัดตั้งองคกรระดับชาติที่มีกฎหมายรองรับ 2 เรื่อง คือ (1) ไดมีการเสนอรางพระราชบัญญัติ
ทรัพยากรน้ํา พ.ศ. .... ในป พ.ศ. 2536 แตไดมีการถอนเรื่องออกจากการพิจารณาของคณะรัฐมนตรี เมื่อ
วันที่ 8 มีนาคม 2537 และ (2) สภาผูแทนราษฎรไดเสนอราง พ.ร.บ. ปรับปรุง กระทรวง ทบวง กรม (ฉบับที่ ..)