Page 43 -
P. 43

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

                                                                                                    3-12





                                     สวนการดําเนินงานตามนโยบายที่คณะรัฐมนตรีแถลงตอรัฐสภานั้น มีสวนที่
               สอดคลองกันทั้งในเรื่องการพัฒนาแหลงน้ําทั้งเพื่อการเกษตร อุปโภคบริโภค การบําบัดน้ําเสีย การขยายพื้นที่
               ชลประทานอีก 60 ลานไร การบรรเทาอุทกภัยและภัยแลง การผันน้ํานั้นไดมีการศึกษาความเหมาะสมและ
               ศึกษาผลกระทบสิ่งแวดลอมโครงการระบบเครือขายน้ําหวยหลวง  หนองหาน กุมภวาป ลําปาว ชีมูล
               และโครงการระบบเครือขายน้ํา ปากชม ลําพะเนียง ชีมูล

                                     ผลการดําเนินการดานองคกรการบริหารนั้นไดมีการจัดตั้งสถาบันสารสนเทศทรัพยากรน้ํา
               และการเกษตร ในป พ.ศ. 2552 และกรมฝนหลวงและการบินเกษตรในป พ.ศ. 2556 และประกาศใชระเบียบ
               สํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยการบริหารทรัพยากรน้ําแหงชาติ พ.ศ. 2550 ในชวงแผนพัฒนาฯ ฉบับนี้ ไดมีการ

               เสนอรางพระราชบัญญัติทรัพยากรน้ํา พ.ศ. .... รวม 3 ฉบับ ที่เสนอโดยสภานิติบัญญัติแหงชาติ
               กรมทรัพยากรน้ํา และสภาผูแทนราษฎร แตไมมีผลในทางปฏิบัติทั้ง 3 ฉบับ
                                     นอกจากนี้ไดมีการนําระบบประเมินผลกระทบสิ่งแวดลอมระดับยุทธศาสตร (SEA)
               มาใชในโครงการพัฒนาแหลงน้ําดวย นโยบายที่ไมไดปฏิบัติคือ ระบบชลประทานระบบทอของรัฐบาลคณะที่ 57

                                     ในชวงแผนพัฒนาฯ ฉบับนี้มีการกอสรางแหลงน้ําขนาดใหญรวม 5 โครงการ คือ
               (1) มีการอนุมัติใหเปดโครงการเขื่อนแมวงก จังหวัดนครสวรรค (2) โครงการหวยโสมง อันเนื่องมาจาก
               พระราชดําริ จังหวัดปราจีนบุรี (3) โครงการเขื่อนทดน้ําผาจุก จังหวัดอุตรดิตถ  (4) โครงการอางเก็บน้ําหวย
               น้ํารีอันเนื่องจากพระราชดําริ จังหวัดอุตรดิตถ และ (5) โครงการอางเก็บน้ํามวกเหล็ก จังหวัดสระบุรี

                                     นอกจากนี้คณะรัฐมนตรีมีมติอนุมัติในหลักการใหกรมชลประทานดําเนินการ
               โครงการชลประทานขนาดใหญ จํานวน 4 โครงการ ประกอบดวย (1) โครงการผันน้ําจากพื้นที่จังหวัดจันทบุรี
               ไปยังแหลงเก็บกักน้ําจังหวัดระยอง (2) โครงการผันน้ําจากพื้นที่ลุมน้ําเจาพระยาฝงตะวันออก อางเก็บน้ํา
               บางพระ จังหวัดชลบุรี (3) โครงการบรรเทาอุทกภัยเมืองจันทบุรี (แผนระยะที่ 2) และ (4) โครงการพัฒนาลุม

               น้ําตาป-พุมดวง จังหวัดสุราษฎรธานี ตามที่กระทรวงเกษตรและสหกรณเสนอสวนแหลงเงินลงทุนในแตละ
               โครงการใหดําเนินการตามความเห็นของคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ
                                     ความสอดคลองของนโยบายทั้ง 3 แหลง  จึงสรุปไดวา “ในชวงแผนพัฒนา

               เศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 10 มีรัฐบาลเขามาบริหารประเทศรวม 5 คณะ นโยบายจากแผนพัฒนาฯ
               นโยบายที่รัฐบาลแถลงตอรัฐสภา และนโยบายจากคณะรัฐมนตรีและการดําเนินการมีความสอดคลองใน
               เรื่องการบริหารจัดการน้ํา การพัฒนาแหลงน้ํา การขยายพื้นที่ชลประทาน การบรรเทาอุทกภัยและภัยแลง
               การจัดการน้ําเสีย การผันน้ํา เพิ่มปริมาณน้ําตนทุน นโยบายที่แตกตางของคณะรัฐบาลคือ การชลประทาน
               ระบบทอของรัฐบาลคณะที่ 57 ที่ไมมีผลในทางปฏิบัติจากคณะรัฐมนตรีและไมมีนโยบายจากรัฐบาลคณะอื่น

               รวมทั้งการเพิ่มศักยภาพขององคกรปกครองทองถิ่นในการบําบัดน้ําเสียของรัฐบาลคณะที่ 59 ก็ไมมีปรากฏใน
               นโยบายของรัฐบาลคณะอื่นๆ ทั้งๆ ที่การควบคุมและบรรเทาน้ําเสียไดกําหนดไวเปนนโยบายในแผนพัฒนาฯ ฉบับนี้”

                      แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับที่ 11 (พ.ศ. 2554 -2559) อยูในชวงการบริหารของ

               รัฐบาล 2 คณะ คือ รัฐบาลคณะที่ 60  มี น.ส. ยิ่งลักษณ ชินวัตร เปนนายกรัฐมนตรี และรัฐบาลคณะที่ 61 มี
               พลเอก ประยุทธ จันทรโอชา เปนนายกรัฐมนตรี
                              ปญหาที่เกี่ยวของกับทรัพยากรน้ําที่ระบุไวในแผนพัฒนาฯ ฉบับนี้คือปญหาการขาดแคลนน้ํา

               และภัยพิบัติทางธรรมชาติ ดวยเหตุดังกลาวนี้ในแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 10 จึงกําหนดแนวทางการพัฒนารวม
               4 แนวทาง คือ (1) เรงรัดการบริหารจัดการน้ําแบบบูรณาการ เพื่อสนับสนุนความมั่นคงดานอาหารและ
   38   39   40   41   42   43   44   45   46   47   48