Page 39 -
P. 39

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

                                                                                                     3-8





               พ.ศ. .... เสนอใหมีการจัดตั้งกระทรวงทรัพยากรน้ํา ตามที่ไดมีการกําหนดใหเรงรัดจัดตั้งองคกรระดับชาติ
               ไวในแผนพัฒนาฯ ฉบับนี้ แตการเสนอดังกลาวนี้ไมมีผลในทางปฏิบัติ

                              นโยบายจากแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ไมไดดําเนินการคือการเก็บคาน้ําชลประทานจากภาค
               การเกษตร และการนําองคกรภาคประชาชนเขามารวมในการบริหารจัดการโครงการแหลงน้ํา รวมทั้งการ
               จัดตั้งองคกรระดับชาติโดยมีกฎหมายรองรับ


                      แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 8 (พ.ศ.2540-2549) อยูในชวงการบริหารของรัฐบาล
                                                                                1)
               รวม 4 คณะ คือ รัฐบาลคณะที่ 51 มีนายบรรหาร ศิลปอาชา เปนนายกรัฐมนตรี  รัฐบาลคณะที่ 52 มีพลเอก
               ชวลิต ยงใจยุทธ เปนนายกรัฐมนตรี รัฐบาลคณะที่ 53 มีนายชวน หลีกภัย เปนนายกรัฐมนตรี และรัฐบาล

               คณะที่ 54 มี พ.ต.ท. ทักษิณ ชินวัตร เปนนายกรัฐมนตรี
                              ปญหาของทรัพยากรน้ําที่ระบุไวในแผนพัฒนาฯ ฉบับนี้กลาวถึงภาพรวมของการบริหาร
               จัดการที่ไมเหมาะสมนําไปสูความเสื่อมโทรม และมีผลตอความมั่นคงทางเศรษฐกิจ เกิดความขัดแยงในสังคม

               จากการใชทรัพยากร เกิดภัยธรรมชาติ และมลพิษที่เปนอันตรายตอสุขภาพของประชาชน ดวยเหตุดังกลาวนี้
               ในแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 8 จึงมีนโยบายและมาตรการคือ (1) ใหมีกลไกในการกํากับ ดูแล และประสานการ
               พัฒนาทรัพยากรน้ําทั้งในระดับชาติและระดับลุมน้ําโดยมีกฎหมายรองรับ (2) จัดระบบการจัดสรรและ
               แบงปนทรัพยากรน้ําระหวางการใชน้ําในกิจการตางๆ อยางเหมาะสม (3) ใหมีการจัดเก็บคาน้ําดิบทั้งเพื่อการ
               อุตสาหกรรม เกษตรกรรม และอุปโภคบริโภค (4) ปรับปรุงระบบสงและจายน้ําเพื่อการชลประทานและการ

               อุปโภคบริโภคในชุมชนเพื่อลดการรั่วไหลของน้ํา (5) รณรงคและเผยแพรใหมีการใชน้ําอยางประหยัดและมี
               ประสิทธิภาพ
                              สวนสาระสําคัญจากการแถลงนโยบายของคณะรัฐมนตรีตอรัฐสภา นโยบายของรัฐบาล

               คณะที่ 52 คณะที่ 53 และคณะที่ 54 มีความสอดคลองกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 8
               ในเรื่องการพัฒนาการชลประทาน แตไมมีนโยบายเรื่องการเก็บคาน้ําชลประทานจากเกษตรกร รวมทั้งการ
               จัดตั้งกลไกในการบริหารจัดการน้ําโดยมีกฎหมายควบคุมที่กําหนดไวตั้งแตแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 7 และใน
               แผนพัฒนาฯ ฉบับนี้ นอกจากนี้ยังมีความสอดคลองกับนโยบายของรัฐบาลคณะตางๆ ที่ผานมา ในเรื่องการ

               พัฒนาแหลงน้ําและการชลประทาน นโยบายของรัฐบาลคณะที่ 53 และคณะที่ 54 มีความสอดคลองกันใน
               เรื่องการอนุรักษแหลงน้ําและตนน้ํา การควบคุมคุณภาพน้ํา นโยบายที่เพิ่มเติมของรัฐบาลคณะที่ 53 คือการ
               สงเสริมใหมีการรวมทุนของรัฐบาลและเอกชนในการกอสรางระบบน้ําเสียรวม และนโยบายของรัฐบาล
               คณะที่ 54 ใหมีการชลประทานระบบทอ และเนนการบริหารจัดการ ซึ่งนําไปสูการจัดตั้งกรมทรัพยากรน้ํา

               และกรมทรัพยากรน้ําบาดาลในป 2545
                              ในดานนโยบายจากมติคณะรัฐมนตรีและการดําเนินการ มีความสอดคลองกับแผนพัฒนา
               เศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับนี้มีสวนที่เชื่อมโยงกับแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ผานมา คือ การพัฒนาแหลงน้ํา
               และการชลประทาน มีการกอสรางเขื่อนขนาดใหญ 2 แหง คือ (1) อางเก็บน้ําประแสร และ (2) เขื่อนขุนดาน

               ปราการชล เรื่องคุณภาพน้ํามีการจัดตั้งองคการน้ําเสีย มีการแตงตั้งคณะกรรมการทรัพยากรน้ําแหงชาติ และ
               คณะกรรมการลุมน้ําแมปงตอนบนและลุมน้ําแมปงตอนลาง อนุกรรมการจัดตั้งองคกรบริหารจัดการน้ําในลุมน้ํา
               เจาพระยา มีการเสนอรางพระราชบัญญัติทรัพยากรน้ํา พ.ศ. .... ที่เสนอโดยคณะกรรมการทรัพยากรน้ําแหงชาติ

               ------------------------------------
               1)
                 รัฐบาลคณะที่ 51 ที่มีนายบรรหาร ศิลปอาชา เปนนายกรัฐมนตรี มีการบริหารตอเนื่องมาตั้งแตแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 7 จึงไมมีคําแถลงนโยบายในชวง
                 แผนพัฒนาฯ ฉบับนี้
   34   35   36   37   38   39   40   41   42   43   44