Page 36 -
P. 36

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

                                                                                                     3-5





               พื้นที่ในเขตชลประทาน 6)  ดําเนินการปรับปรุงโครงสรางองคกรและกลไกการบริหารงานของหนวยราชการที่
               เกี่ยวของกับการพัฒนาแหลงน้ํา และ (7) อนุรักษและรักษาคุณภาพของแหลงน้ํามิใหเกิดมลพิษ
                              นโยบายที่รัฐบาลคณะที่ 43 แถลงตอรัฐสภาไดเนนการชวยเหลือราษฎรในทองที่แหงแลงและ
               พัฒนาแหลงน้ําในระดับไร-นา สวนคณะที่ 44 ไดเนนปรับปรุงการบริหารจัดการ ซึ่งสอดคลองกับมาตรการ
               พัฒนากําหนดไวในแผนพัฒนาฉบับนี้ สวนนโยบายของคณะรัฐมนตรีและการดําเนินการนั้น มีการพัฒนาน้ํา

               ใตดินที่จังหวัดสุโขทัย แตไดมีการประกาศเขตควบคุมวิกฤติน้ําบาดาลและแผนดินทรุด ในพื้นที่ 4 จังหวัด คือ
               กรุงเทพมหานคร นนทบุรี ปทุมธานี และสมุทรปราการ เนื่องจากมีน้ําประปาเขาไมถึง มีการโอนกิจการ
               ประปาขององคการบริหารสวนจังหวัด เทศบาล สุขาภิบาล ไปสังกัดการประปาสวนภูมิภาค จัดหาน้ําเพื่อ

               การอุตสาหกรรมบริเวณถนนปูเจาสมิงพรายและนิคมอุตสาหกรรมบางปู มีการกูเงินจากตางประเทศเพื่อ
               พัฒนาโครงการเกษตรชลประทานน้ําพอง ระยะที่ 2 มีการชวยเหลือผูประสบภัยแลงและอุทกภัย เริ่มตนการ
               กําหนดชั้นคุณภาพลุมน้ําในลุมน้ํา ปง-วัง รวมทั้งการจัดตั้งคณะกรรมการแหลงน้ําแหงชาติ
                              จากการดําเนินการของคณะรัฐมนตรีดังกลาวนี้จึงสรุปไดวามีความสอดคลองทั้งนโยบาย

               จากแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ และนโยบายที่รัฐบาลแถลงตอรัฐสภา

                      แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับที่ 6 (พ.ศ. 2530 – 2535) อยูในชวงการบริหารของ
               รัฐบาลรวม 4 คณะ คือ รัฐบาลคณะที่ 44 มีพลเอกเปรม ติณสูลานนท เปนนายกรัฐมนตรี รัฐบาลคณะที่ 45
               และ 46 มีพลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ เปนนายกรัฐมนตรี และรัฐบาลคณะที่ 47 ที่มีนายอานันท ปนยารชุน เปน

               นายกรัฐมนตรี
                              ปญหาการพัฒนาแหลงน้ําที่ระบุไวในแผนพัฒนาฯ ฉบับนี้คือ การขาดแคลนน้ําเพื่อกิจกรรม
               สาขาตางๆ ที่นําไปสูความขัดแยงระหวางผูใชน้ํา ขาดระบบการบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพ ทําใหการใชน้ํามี

               ศักยภาพเพียงรอยละ 15 และการพัฒนาแหลงน้ําขนาดเล็กยังไมทั่วถึง ดวยเหตุดังกลาวนี้ แผนพัฒนาฯ ฉบับ
               ที่ 6 จึงไดกําหนดนโยบายและมาตรการ (1) สนับสนุนใหมีการประสานการพัฒนาแหลงน้ําอยางเปนระบบลุม
               น้ํา (2) สนับสนุนใหเกิดการปรับปรุงประสิทธิภาพโครงการแหลงน้ําขนาดใหญและขนาดกลาง (3) สนับสนุน
               การพัฒนาแหลงน้ําขนาดเล็กเพื่อการยังชีพขั้นพื้นฐานใหกระจายอยางทั่วถึง รวมทั้งการพัฒนาแหลงน้ําใตดิน

               ในบริเวณที่มีศักยภาพ (4) สนับสนุนการพัฒนาแหลงน้ําในบริเวณทรัพยากรแหลงน้ําที่เสื่อมโทรม (5) สนับสนุน
               ใหองคกรราษฎร เขามามีสวนรวมในการบริหารจัดการโครงการแหลงน้ํา และ (6) สนับสนุนใหมีการพัฒนา
               ระบบขอมูลทรัพยากรแหลงน้ําใหเปนมาตรฐานเดียวกัน  สวนสาระสําคัญจากการแถลงนโยบายของ
               คณะรัฐมนตรีตอรัฐสภา ของคณะที่ 45 ไดเนนการปรับปรุงระบบการบริหารและการจัดการแหลงน้ํา และ

               การอนุรักษ สวนนโยบายของคณะที่ 46 และคณะที่ 47 เปนการพัฒนาแหลงน้ํา รวมทั้งการบรรเทาความ
               เดือดรอนของราษฎรอันเนื่องจากความแหงแลง ซึ่งมีความสอดคลองกับนโยบายของรัฐบาลคณะตางๆ ในชวง
               ที่ผานมา ที่เนนถึงการจัดหาน้ําและการขยายการชลประทาน และมีความสอดคลองกับนโยบายที่กําหนดไวใน
               แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ตั้งแตฉบับที่ 3- ฉบับที่ 6

                              ในดานนโยบายและการดําเนินการของคณะรัฐมนตรีนั้น มีการกอสรางแหลงน้ําขนาดใหญ
               ขนาดกลาง และขนาดเล็กอยางตอเนื่องเชนเดียวกับในชวงแผนพัฒนาฯ ที่ผานมา รวมทั้งการจัดหาน้ําเพื่อ
               อุปโภคบริโภคในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ โดยการขุดเจาะบอบาดาล รวมทั้งการผันน้ําจากลุมน้ําแมกลองไป

               ยังลุมน้ําเจาพระยาเพื่อการประปาในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล แกไขปญหาการขาดแคลน
               น้ําประปาเมืองพัทยาและเทศบาลอําเภอหัวหิน ตลอดจนเรงรัดระบบประปาชนบท ในดานการพัฒนาการ
   31   32   33   34   35   36   37   38   39   40   41