Page 35 -
P. 35

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

                                                                                                     3-4





                              นโยบายจากมติคณะรัฐมนตรีมีความสอดคลองกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ
               และนโยบายของรัฐบาลที่แถลงตอรัฐสภาในเรื่องการกอสรางระบบชลประทาน และการพัฒนาแหลงน้ํา และ
               มีนโยบายเพิ่มเติมดานการเรงรัดพัฒนาแหลงน้ําบาดาล อยางไรก็ตามยังคงไมไดมีการจัดทําแผนแมบทการ
               พัฒนาทรัพยากรน้ําในระดับลุมน้ําตามที่กําหนดไวในแผนพัฒนาฯ รวมทั้งการเก็บคาน้ําชลประทานจาก
               เกษตรกรตามที่กําหนดไวในแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 1


                      ในชวงแผนพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 4 (พ.ศ. 2520-2524) อยูในชวงการบริหาร
               ของรัฐบาล 4 คณะ คือรัฐบาลคณะที่ 39 มีนายธานินทร กรัยวิเชียร เปนนายกรัฐมนตรี รัฐบาลที่ 40 และ 41
               มีพลเอกเกรียงศักดิ์ ชมะนันท เปนนายกรัฐมนตรี และรัฐบาลคณะที่ 42 มีพลเอกเปรม ติณสูลานนท

               เปนนายกรัฐมนตรี
                              ปญหาการพัฒนาแหลงน้ําที่ระบุไวในแผนพัฒนาฯ ฉบับนี้คือ (1) ขาดแผนและนโยบาย
               สวนรวมเกี่ยวกับการจัดสรรทรัพยากรแหลงน้ํา (2) ขาดการสํารวจแหลงน้ําที่จะนํามาพัฒนาใหเปนประโยชน

               (3) ขาดนโยบายระยะยาวเพื่อแกไขปญหาความแหงแลงในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (4) ความเสื่อมโทรม
               และเนาเสียของแหลงน้ํา (5) ขาดการควบคุมการขยายตัวของเมืองและอุตสาหกรรมใหสอดคลองกับขีดจํากัด
               ของการพัฒนาแหลงน้ํา และ (6) ใชน้ําอยางไมประหยัดดวยเหตุผลดังกลาวนี้ ในแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 5 จึงได
               ใหความสําคัญตอการผลิตทางการเกษตร โดยการพัฒนาโครงการเจาพระยาตอนบนและการชลประทานใน
               ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีการกําหนดมาตรการใหมีหนวยงานกลางระดับสูงเพื่อจัดทําแผนพัฒนาแหลงน้ํา

               การปรับปรุงกฎหมายเพื่ออนุรักษแหลงน้ํา ศึกษาและสํารวจวางแผนบรรเทาอุทกภัย และวางแผนชวยเหลือ
               เกษตรกรที่ขาดแคลนน้ําในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ สวนนโยบายที่รัฐบาลคณะตางๆ แถลงตอรัฐสภานั้น
               ไดเนนดําเนินการชลประทานขนาดเล็ก และการแกไขปญหาภัยแลงในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ที่สอดคลอง

               กับนโยบายที่ไดกําหนดไวในแผนพัฒนาฯ ในดานนโยบายของคณะรัฐมนตรีที่มีมติและดําเนินการนั้น
               นอกจากจะมีการพัฒนาแหลงน้ําขนาดใหญและขนาดกลางอยางตอเนื่องแลว ยังมีการเริ่มดําเนินการพัฒนา
               แหลงน้ําขนาดเล็กโดยเฉพาะในภาคตะวันออกเฉียงเหนือเพื่อแกปญหาภัยแลง มีโครงการพัฒนาน้ําใตดินเพื่อ
               การเกษตรที่จังหวัดสุโขทัย มีการสูบน้ําดวยไฟฟาเพื่อการเกษตร มีการแกไขปญหาคุณภาพในแมน้ําแมกลอง

               ในเขตจังหวัดราชบุรี และมีการจัดตั้งคณะกรรมการศูนยประสานงานและเรงรัดพัฒนาแหลงน้ําขึ้น ในสํานัก
               เลขาธิการคณะรัฐมนตรี โดยสรุปคือนโยบายที่กําหนดโดยคณะรัฐมนตรีและการดําเนินการสอดคลองกับ
               นโยบายที่กําหนดในแผนพัฒนาฯ และนโยบายที่รัฐบาลแถลงตอรัฐสภา

                      ในชวงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2525-2529) อยูในชวงการบริหาร

               ของรัฐบาลคณะที่ 43 และ 44 ซึ่งมีพลเอกเปรม ติณสูลานนท เปนนายกรัฐมนตรี
                              ปญหาที่เกี่ยวของกับทรัพยากรน้ําที่ระบุไวในแผนพัฒนาฯ ฉบับนี้คือ การใชแหลงน้ําเพื่อ
               การชลประทานและการประมงมีปญหาจากระบบสงที่ไมสมบูรณ ขาดการบํารุงรักษาใหอยูในสภาพที่ใชการได

               การใชน้ําในเขตชลประทานยังไมมีประสิทธิภาพและไมประหยัด รวมทั้งการบริหารจัดการยังกระจัดกระจาย
               อยูหลายหนวยงาน ดวยเหตุดังกลาวนี้ในแผนพัฒนาฯ ฉบับนี้จึงไดกําหนดมาตรการพัฒนาไว 3 ประการคือ
               (1) เรงปรับปรุงและขยายพื้นที่ในเขตชลประทานที่มีอยูเดิม ใหใชประโยชนไดเต็มที่ (2) เรงดําเนินการพัฒนา
               ลุมน้ําที่ยังไมมีการพัฒนามากนักมาใชประโยชนใหมากขึ้น (3) เรงรัดพัฒนาแหลงน้ําขนาดเล็กใหกระจายออก

               นอกเขตชลประทาน (4) สํารวจเพื่อวางแผนผันน้ําจากแมน้ําโขงเขามาเพิ่มเติม (5) ดําเนินการเก็บคาน้ําจาก
   30   31   32   33   34   35   36   37   38   39   40