Page 42 -
P. 42

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

                                                                                                    3-11





                              อีกกรณีหนึ่งก็คือ การมีสวนรวมของประชาชนนั้น ไมปรากฏการดําเนินการที่ชัดเจน และ
               ยังคงมีการรองเรียนจากประชาชนในกรณีการเปดปดเขื่อนปากมูล
                              จึงสรุปความสอดคลองของนโยบายทั้ง 3 แหลง ไดวา ในชวงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม
               แหงชาติ ฉบับที่ 9 นั้น ตั้งแตการใหความเห็นชอบกับนโยบายในแผนพัฒนาฯ ฉบับนี้ คําแถลงนโยบายของ
               รัฐบาลตอรัฐสภาและนโยบายจากมติคณะรัฐมนตรี รวมทั้งการดําเนินการนั้น เปนการดําเนินการโดยรัฐบาล

               คณะที่ 54 และคณะที่ 55 ซึ่งมีนายกรัฐมนตรีคนเดียวกัน นโยบายทั้ง 3 แหลง จึงมีความสอดคลองกันเปน
               สวนใหญ ยกเวนการมีสวนรวมของประชาชนที่กําหนดไวในแผนพัฒนาฯ มิไดมีปรากฏในนโยบายของคณะรัฐมนตรี
               และมีการดําเนินการแตอยางใด


                      ในชวงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 10 (พ.ศ. 2550-2554)อยูในชวงการบริหาร
               ของรัฐบาล 5 คณะ คือรัฐบาลคณะที่ 56 มี พลเอกสุรยุทธ จุลานนท  รัฐบาลคณะที่ 57 มีนายสมัคร สุนทรเวช
               เปนนายกรัฐมนตรี รัฐบาลคณะที่ 58 มีนายสมชาย วงศสวัสดิ์ เปนนายกรัฐมนตรี รัฐบาลคณะที่ 59 มีนาย

               อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ เปนนายกรัฐมนตรี รัฐบาลคณะที่ 60 มี น.ส.ยิ่งลักษณ ชินวัตร เปนนายกรัฐมนตรี
                              ปญหาที่เกี่ยวของกับทรัพยากรน้ําที่ระบุไวในแผนพัฒนาฯ ฉบับนี้คือการขาดแคลนน้ําและ
               ความเสื่อมโทรมของคุณภาพน้ํา รวมทั้งการเกิดกรณีขัดแยงแยงชิงน้ําที่มีแนวโนมรุนแรงขึ้น ดวยเหตุดังกลาว
               ในแผนพัฒนาฉบับที่ 10  จึงมีนโยบายการพัฒนาทรัพยากรน้ํา โดย (1)  อนุรักษพื้นที่ปาตนน้ําลําธาร (2)
               พัฒนาแหลงน้ําเพื่อการใชประโยชนเพิ่มขึ้น ทั้งแหลงน้ําธรรมชาติ และการขุดสระน้ําในไร-นา พัฒนาน้ํา

               บาดาล (3) ปองกันและบรรเทาอุทกภัย (4) ควบคุมและบรรเทาน้ําเสีย (5) เพิ่มประสิทธิภาพในการบริหาร
               จัดการน้ําโดยสรางระบบพยากรณและเตือนภัย
                              สวนนโยบายของรัฐบาลที่แถลงตอรัฐสภาทั้ง 5 คณะ มีสวนที่สอดคลองกันคือ การ

               บรรเทาอุทกภัยและเตือนภัยแลง สวนนโยบายของรัฐบาลคณะที่ 57 คณะที่ 58 และคณะที่ 59 มีสวนที่
               สอดคลองกันในเรื่องการพัฒนาระบบชลประทาน การพัฒนาแหลงน้ํา การขุดลอกคูคลอง การกระจายน้ํา การ
               บําบัดน้ําเสีย นโยบายที่รัฐบาลคณะที่ 57 และ 58 แถลงแตกตางจากรัฐบาลคณะที่ 56 และ 59 คือ การ
               ชลประทานระบบทอ และรัฐบาลคณะที่ 60 มีนโยบายเพิ่มเติมเรื่องการขยายเขตจัดรูปที่ดิน

                              ในดานนโยบายจากมติคณะรัฐมนตรีและการดําเนินการ มีสวนที่สอดคลองกับแผนพัฒนา
               เศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 10 ดังนี้
                                     การพัฒนาแหลงน้ําเพื่อการใชประโยชน ถึงแมวาในชวงแผนพัฒนาฯ ฉบับนี้ไมมี
               การกอสรางเขื่อนขนาดใหญ แตมีการเสนอใหสรางเขื่อนแมวงก สวนแหลงน้ําขนาดกลาง ขนาดเล็ก และบอ

               น้ําในไรนา ยังคงมีการกอสรางอยางตอเนื่อง รวมทั้งการผันน้ําจากจังหวัดจันทบุรีไปยังจังหวัดระยอง และลุม
               น้ําเจาพระยาฝงตะวันออกไปยังอางเก็บน้ําบางพระ เพื่อแกปญหาการขาดแคลนน้ําในภาคตะวันออก การ
               ควบคุมและบรรเทาน้ําเสีย นอกจากไดมีการตรวจสอบคุณภาพลําน้ําตางๆ แลวยังมีการกําหนดเขตพื้นที่
               จัดการน้ําเสียในเขตจังหวัดนครศรีธรรมราชและเพชรบุรี รวมทั้งการประกาศใชระเบียบปฏิบัติเรื่องคุณภาพ

               น้ําและการกําหนดเขตพื้นที่จัดการน้ําเสีย
                                     ในเรื่องการสรางระบบพยากรณและเตือนภัย ไดมีการจัดตั้งสถาบันสารสนเทศ
               ทรัพยากรน้ําและการเกษตรขึ้นในป 2552 ซึ่งไดทําหนาที่วิเคราะหและเตือนภัยดานการเกษตรมาอยาง

               ตอเนื่อง
                                     กรณีการอนุรักษพื้นที่ปาตนน้ําลําธาร ไดดําเนินการในโครงการ “รักษน้ําเพื่อพระ
               แมของแผนดิน”
   37   38   39   40   41   42   43   44   45   46   47