Page 34 -
P. 34

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

                                                                                                    16-25




               การเกษตรจํานวน 50,000 บอ ในพื้นที่ภาคกลาง จัดหาน้ําเพื่อการอุตสาหกรรมในพื้นที่ชายฝงภาคตะวันตก

               มีการเตรียมการชวยเหลือราษฎรที่ประสบภัยพิบัติทั้งภัยแลงและอุทกภัย ไดมีการจัดตั้งองคการน้ําเสียเปน
               รัฐวิสาหกิจใน พ.ศ. 2538 เพื่อดําเนินการบําบัดน้ําเสีย
                                     ไดมีการเสนอรางพระราชบัญญัติทรัพยากรน้ําตอรัฐบาล โดยคณะกรรมการ
               ทรัพยากรน้ําแหงชาติ แตไดมีการถอนออกจากการพิจารณาของคณะรัฐมนตรี รวมทั้งสภาผูแทนราษฎรได
               เสนอใหมีการจัดตั้งกระทรวงทรัพยากรน้ําแตไมมีผลในทางปฏิบัติ เนื่องจากมีการรองเรียนจากประชาชนที่

               ไดรับผลกระทบจากการสรางเขื่อนปากมูล จึงไดมีการจายเงิน “คาชดเชยอาชีพประมง”  ในป 2540 สมัชชา
               คนจนไดมีการตอตานโครงการเขื่อนขนาดใหญหลายแหง เชน เขื่อนทาแซะ-รับรอ โปรงขุนเพชรและแกงเสือเตน
                                     มีการกอสรางเขื่อนขนาดใหญ (ความจุ 100  ลาน ลบ.ม ขึ้นไป) 2  แหง คือ (1)

               เขื่อนปาสักชลสิทธิ์ (2) อางเก็บน้ําคลองสียัด

                                     (7.4) สรุปความสอดคลองของนโยบายทั้ง 3 แหลง
                                     นโยบายจากมติคณะรัฐมนตรีและการดําเนินการ  มีความสอดคลองกับแผนพัฒนา

               เศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 7 และนโยบายจากการแถลงของคณะรัฐมนตรีตอรัฐสภา ในเรื่องการ
               จัดหาน้ําโดยการพัฒนาแหลงน้ําขนาดตางๆ การขยายการชลประทาน การพัฒนาน้ําบาดาล ทั้งเพื่อการเกษตรและ
               การอุปโภคบริโภค การแกไขคุณภาพน้ําที่กําหนดไวในแผนพัฒนาฯ ตั้งแตฉบับที่ 2 เปนตนมา มีการดําเนินการ
               ในเรื่องการจัดตั้งองคกรระดับชาติที่มีกฎหมายรองรับ 2 เรื่อง คือ (1) ไดมีการเสนอรางพระราชบัญญัติ
               ทรัพยากรน้ํา พ.ศ. .... ในป พ.ศ. 2536 แตไดมีการถอนเรื่องออกจากการพิจารณาของคณะรัฐมนตรี เมื่อ

               วันที่ 8 มีนาคม 2537  และ (2) สภาผูแทนราษฎรไดเสนอราง พ.ร.บ.  ปรับปรุง กระทรวง ทบวง กรม (ฉบับที่ ..)
               พ.ศ. .... เสนอใหมีการจัดตั้งกระทรวงทรัพยากรน้ํา ตามที่ไดมีการกําหนดไวในแผนพัฒนาฯ ฉบับนี้ แตการ
               เสนอดังกลาวนี้ไมมีผลในทางปฏิบัติ

                                     อยางไรก็ตามในชวงแผนพัฒนาฯ ฉบับนี้ไดมีการรองเรียนจากราษฎรที่ไดรับ
               ผลกระทบจากการสรางเขื่อนปากมูล ในการทําอาชีพประมง ซึ่งรัฐบาลคณะที่ 50 และคณะที่ 51 ไดจาย
               “คาชดเชยอาชีพประมง” ใหเปนกรณีแรกของประเทศไทย
                                     นโยบายที่ไมสามารถดําเนินการไดคือการเก็บคาน้ําชลประทานภาคเกษตรกรรมที่

               กําหนดมาจากแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 1 รวมทั้งการนําแหลงน้ํานานาชาติเขามาใชในประเทศไทยเพื่อกําหนดไว
               ในนโยบายของรัฐบาลคณะที่ 48 และคณะที่ 50

                              (8) นโยบายน้ําในชวงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 8 (พ.ศ. 2540-2545)
                              แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 8 (พ.ศ.2540-2549) อยูในชวงการบริหาร
                                                                                      1)
               ของรัฐบาลรวม 4 คณะ คือ รัฐบาลคณะที่ 51 มีนายบรรหาร ศิลปอาชา เปนนายกรัฐมนตรี  รัฐบาลคณะที่ 52 มี
               พลเอกชวลิต ยงใจยุทธ เปนนายกรัฐมนตรี รัฐบาลคณะที่ 53 มีนายชวน หลีกภัย เปนนายกรัฐมนตรี และ
               รัฐบาลคณะที่ 54 มี พ.ต.ท. ทักษิณ ชินวัตร เปนนายกรัฐมนตรี




               ------------------------------------
               1)
                 รัฐบาลคณะที่ 51 ที่มีนายบรรหาร ศิลปะอาชา เปนนายกรัฐมนตรี มีการบริหารตอเนื่องในแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 8 ถึงวันที่ 23 พฤศจิกายน 2539
                 จึงไมมีคําแถลงนโยบายในชวงแผนพัฒนาฉบับนี้
   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38   39