Page 37 -
P. 37

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

                                                                                                    16-28




                                     นอกจากนี้มีนโยบายและการดําเนินการของคณะรัฐมนตรีที่สําคัญ 2 เรื่อง ในชวง

               แผนพัฒนาฯ ฉบับนี้ คือ
                                            1. การประกาศพื้นที่ชุมน้ําตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 23 กันยายน 2540
                                            2. การประกาศแผนเตรียมพรอมดานน้ําของสภาความมั่นคงแหงชาติ เมื่อ
               วันที่ 30 กันยายน 2541

                                     (8.4) สรุปความสอดคลองจากนโยบายทั้ง 3 แหลง
                                     นโยบายที่กําหนดในแผนพัฒนาฯ จากการแถลงของรัฐบาลตอรัฐสภาและนโยบาย
               ของมติคณะรัฐมนตรีมีความสอดคลองในเรื่องการจัดหาน้ําเพื่อการเกษตรและพัฒนาระบบชลประทาน
               คุณภาพน้ํา การเสนอกฎหมายทรัพยากรน้ํา การจัดองคกรและกลไกในการพัฒนาทรัพยากรน้ํา การจัดการใน

               ระบบลุมน้ํา
                                     นโยบายที่มีเฉพาะรัฐบาลคณะที่ 53 คือการสงเสริมใหรวมทุนของรัฐและเอกชนใน
               การกอสรางระบบน้ําเสียรวม  แตไมมีผลในทางปฏิบัติ รวมทั้งการเสนอกฎหมายทรัพยากรน้ําที่ดําเนินการ

               ในชวงรัฐบาลคณะที่ 52 และคณะที่ 53 แตไมมีการดําเนินการในชวงรัฐบาลคณะที่ 54 รวมทั้งการเก็บคาน้ํา
               ชลประทานจากภาคการเกษตร อยางไรก็ตามในชวงแผนพัฒนาฯ ฉบับนี้ไดกําหนดนโยบายเพิ่มเติมหลายเรื่อง
               เชน การกําหนดพื้นที่ชุมน้ํา การจัดทําแผนเตรียมพรอมดานน้ําของสภาความมั่นคงแหงชาติ

                              (9) นโยบายน้ําในชวงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 9 (พ.ศ. 2545-2549)

                              แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับที่ 9 (พ.ศ.2545-2549) อยูในชวงการบริหาร
               ของรัฐบาลของคณะที่ 55 ซึ่งมี พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร เปนนายกรัฐมนตรี
                             แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 9 ไดสรุปถึงผลการพัฒนาในชวงแผนพัฒนาฯ
               ฉบับที่ 1 ถึงฉบับที่ 7 ไวดังนี้

                                     “ผลการพัฒนาประเทศในชวง 7 แผนที่ผานมา พอสรุปไดวาประเทศไทยประสบ
               ผลสําเร็จในการพัฒนาเศรษฐกิจที่ขยายตัวอยางรวดเร็ว เฉลี่ยประมาณรอยละ 7 ตอป
                                     ขณะเดียวกันทรัพยากรธรรมชาติถูกใชประโยชนอยางสิ้นเปลือง และเมื่อรอยหรอลง

               ก็นําไปสูปญหาความขัดแยงแยงชิงทรัพยากรสงผลกระทบตอระบบนิเวศและความเสื่อมโทรมทางสิ่งแวดลอม
               อยางรุนแรง จึงนําไปสูขอสรุปผลการพัฒนาที่วา แมเศรษฐกิจขยายตัวในระดับดี แตสังคมมีปญหา และการ
               พัฒนาไมยั่งยืน ”
                                     และระบุปญหาในภาพรวมของการใชประโยชนทรัพยากรธรรมชาติไวดังนี้
                                     “ในชวงทศวรรษที่ผานมา การใชประโยชนทรัพยากรธรรมชาติจํานวนมากโดย

               ปราศจากการจัดการดูแลอยางเหมาะสม ไดกอใหเกิดปญหาความเสื่อมโทรมและไมยั่งยืนอยางรุนแรง
               ทรัพยากรดิน ปาไม ปาชายเลน ประมง และชายฝงถูกนํามาใชประโยชนทางเศรษฐกิจโดยไมมีการฟนฟูอยาง
               จริงจัง การบังคับใชกฎหมายไมเขมงวด และไมมีประสิทธิผลทําใหทรัพยากรธรรมชาติอยูในภาวะเสื่อมโทรม

               สงผลกระทบตอสมดุลของระบบนิเวศและความหลากหลายทางชีวภาพ ทรัพยากรน้ําเกิดปญหาความขาด
               แคลน การใชสารเคมีทางการเกษตรมากขึ้นสงผลตอคุณภาพน้ําและดิน อีกทั้งการนําทรัพยากรแรมาใชโดย
               ไมคํานึงถึงสภาพแวดลอม ไดกอใหเกิดการทําลายสิ่งแวดลอมและแหลงทองเที่ยวสําคัญในหลายพื้นที่”
               (สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ, 2544: 4, 61)
   32   33   34   35   36   37   38   39   40   41   42