Page 42 -
P. 42

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

                                                                                                    16-33




                                            การพัฒนาแหลงน้ําเพื่อการใชประโยชน ถึงแมวาในชวงแผนพัฒนาฯ ฉบับ

               นี้ไมมีการกอสรางเขื่อนขนาดใหญ แตมีการเสนอใหสรางเขื่อนแมวงก สวนแหลงน้ําขนาดกลาง ขนาดเล็ก
               และบอน้ําในไรนา ยังคงมีการกอสรางอยางตอเนื่อง รวมทั้งการผันน้ําจากจังหวัดจันทบุรีไปยังจังหวัดระยอง
               และลุมน้ําเจาพระยาฝงตะวันออกไปยังอางเก็บน้ําบางพระ เพื่อแกปญหาการขาดแคลนน้ําในภาคตะวันออก
               การควบคุมและบรรเทาน้ําเสีย นอกจากไดมีการตรวจสอบคุณภาพลําน้ําตางๆ แลวยังมีการกําหนดเขตพื้นที่
               จัดการน้ําเสียในเขตจังหวัดนครศรีธรรมราชและเพชรบุรี รวมทั้งการประกาศใชระเบียบปฏิบัติเรื่องคุณภาพน้ํา

               และการกําหนดเขตพื้นที่จัดการน้ําเสีย
                                            ในเรื่องการสรางระบบพยากรณและเตือนภัย ไดมีการจัดตั้งสถาบัน
               สารสนเทศทรัพยากรน้ําและการเกษตรขึ้นในป 2550 ซึ่งไดทําหนาที่วิเคราะหและเตือนภัยดานการเกษตรมา

               อยางตอเนื่อง
                                            กรณีการอนุรักษพื้นที่ปาตนน้ําลําธาร ไดดําเนินการในโครงการ “รักษน้ํา
               เพื่อพระแมของแผนดิน”
                                            สวนการดําเนินงานตามนโยบายที่คณะรัฐมนตรีแถลงตอรัฐสภานั้น

               มีสวนที่สอดคลองกันทั้งในเรื่องการพัฒนาแหลงน้ําทั้งเพื่อการเกษตร อุปโภคบริโภค การบําบัดน้ําเสีย การ
               ขยายพื้นที่ชลประทานอีก 60 ลานไร การบรรเทาอุทกภัยและภัยแลง การผันน้ํานั้นไดมีการศึกษาความ
               เหมาะสมและศึกษาผลกระทบสิ่งแวดลอมโครงการระบบเครือขายน้ําหวยหลวง  หนองหาน กุมภวาป
               ลําปาว ชีมูล และโครงการระบบเครือขายน้ํา ปากชม ลําพะเนียง ชีมูล

                                            ผลการดําเนินการดานอื่นๆ คือไดมีการจัดตั้งสถาบันสารสนเทศทรัพยากรน้ํา
               และการเกษตร ในป พ.ศ. 2552 และกรมฝนหลวงและการบินเกษตรในป พ.ศ. 2556 และประกาศใชระเบียบ
               สํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยการบริหารทรัพยากรน้ําแหงชาติ พ.ศ. 2550 ในชวงแผนพัฒนาฯ ฉบับนี้ ไดมีการ
               เสนอรางพระราชบัญญัติทรัพยากรน้ํา พ.ศ. .... รวม 3 ฉบับ ที่เสนอโดยสภานิติบัญญัติแหงชาติ

               กรมทรัพยากรน้ํา และสภาผูแทนราษฎร แตไมมีผลในทางปฏิบัติทั้ง 3 ฉบับ
                                            นอกจากนี้ไดมีการนําระบบประเมินผลกระทบสิ่งแวดลอมระดับ
               ยุทธศาสตร (SEA) มาใชในโครงการพัฒนาแหลงน้ําดวย นโยบายที่ไมไดปฏิบัติคือ ระบบชลประทานระบบทอของ

               รัฐบาลคณะที่ 57
                                            ในชวงแผนพัฒนาฯ ฉบับนี้มีการกอสรางแหลงน้ําขนาดใหญรวม 5 โครงการ
               คือ (1) มีการอนุมัติใหเปดโครงการเขื่อนแมวงก จังหวัดนครสวรรค (56) (2) โครงการหวยโสมง
               อันเนื่องมาจากพระราชดําริ จังหวัดปราจีนบุรี (3) โครงการเขื่อนทดน้ําผาจุก จังหวัดอุตรดิตถ (59) (4)
               โครงการอางเก็บน้ําหวยน้ํารีอันเนื่องจากพระราชดําริ จังหวัดอุตรดิตถ (59) และ (5) โครงการอางเก็บน้ํา

               มวกเหล็ก จังหวัดสระบุรี (59)
                                            นอกจากนี้คณะรัฐมนตรีมีมติอนุมัติในหลักการใหกรมชลประทาน
               ดําเนินการโครงการชลประทานขนาดใหญ จํานวน 4 โครงการ ประกอบดวย (1) โครงการผันน้ําจากพื้นที่

               จังหวัดจันทบุรีไปยังแหลงเก็บกักน้ําจังหวัดระยอง (2) โครงการผันน้ําจากพื้นที่ลุมน้ําเจาพระยาฝงตะวันออก
               อางเก็บน้ําบางพระ จังหวัดชลบุรี (3) โครงการบรรเทาอุทกภัยเมืองจันทบุรี (แผนระยะที่ 2) และ (4)
               โครงการพัฒนาลุมน้ําตาป-พุมดวง จังหวัดสุราษฎรธานี ตามที่กระทรวงเกษตรและสหกรณเสนอสวนแหลง
               เงินลงทุนในแตละโครงการใหดําเนินการตามความเห็นของคณะกรรมการพัฒนาการเศราฐกิจและสังคม
               แหงชาติ (59)
   37   38   39   40   41   42   43   44   45   46   47