Page 41 -
P. 41

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

                                                                                                    16-32




                                     รัฐบาลคณะที่ 58 นรม. : นายสมชาย  วงศสวัสดิ์ (24 ก.ย. 2551 – 20 ธ.ค. 2551)

                                            “เรงรัดการบริหารจัดการทรัพยากรน้ําและเพิ่มประสิทธิภาพระบบกระจายน้ํา
               ทั้งในและนอกเขตชลประทาน โดยฟนฟูและขุดลอก คู คลอง และ แหลงน้ําธรรมชาติ รวมทั้งพัฒนาแหลงน้ํา
               ผิวดินและใตดิน ดําเนินการกอสรางระบบชลประทานขนาดใหญ ขนาดกลาง และคลองสงน้ําขนาดเล็กเขาไรนา
               เพื่อประโยชนในการปรับโครงสรางภาคการเกษตร การบรรเทาอุทกภัยและภัยแลง ทั้งในพื้นที่ชุมชนเมือง
               และพื้นที่เกษตรกรรม สงเสริมการพัฒนาระบบประปาที่ถูกสุขอนามัย เพื่อการอุปโภคและบริโภคแก

               ประชาชนใหทั่วถึงทุกพื้นที่ ระบบประปาบาดาล และน้ําสะอาดโรงเรียน และการเพิ่มประสิทธิภาพการ
               กระจายน้ําโดยการพัฒนาระบบชลประทานในรูปแบบตางๆ รวมทั้งการผันน้ําเพื่อเพิ่มปริมาณน้ําตนทุน
               เรงรัดการสรางระบบน้ําเสียจากการผลิตภาคเกษตรและภาคอุตสาหกรรมดูแลรักษาคุณภาพน้ําในแมน้ําและคู คลอง”


                                     รัฐบาลคณะที่ 59 นรม. : นายอภิสิทธิ์  เวชชาชีวะ (20 ธ.ค. 2551 – 5 ส.ค .2551)
                                            “เรงรัดการจัดหาแหลงน้ําใหทั่วถึงและเพียงพอ รวมทั้งเพิ่มประสิทธิภาพ
               การใชทรัพยากรน้ําเพื่อการผลิตทางการเกษตร โดยเนนการเพิ่มสระน้ําในไรนาและขุดลอกคูคลองเพื่อ

               บรรเทาอุทกภัยและภัยแลง สงเสริมการใชประโยชนจากน้ําใหมีประสิทธิภาพและเหมาะสมกับชนิดพืช เพิ่มพื้นที่
               ชลประทานทั้งขนาดใหญ ขนาดกลาง และขนาดเล็ก ตลอดจนขยายระบบการกระจายน้ําในพื้นทีชลประทานให
               ใชประโยชนไดเต็มศักยภาพ เพิ่มศักยภาพขององคกรปกครองสวนทองถิ่นในการบําบัดน้ําเสีย”

                                     รัฐบาลคณะที่ 60 นรม. : น.ส. ยิ่งลักษณ  ชินวัตร (5 ส.ค. 2554 – 9 ธ.ค. 2556)

                                     “สงเสริมใหมีการบริหารจัดการน้ําอยางบูรณาการและเรงรัดขยายเขตพื้นที่
               ชลประทานโดยเรงใหมีการบริหารจัดการน้ําในระดับประเทศอยางมีประสิทธิภาพใหสามารถปองกันปญหา
               อุทกภัยและภัยแลงได รวมทั้งสนับสนุนภาคการเกษตรดวยการกอสรางระบบชลประทานขนาดใหญ ขนาดกลาง
               และขนาดเล็ก ฟนฟูการขุดลอกคูคลอง และแหลงน้ําธรรมชาติที่มีอยูเดิม ขยายเขตการสูบน้ําดวยไฟฟา

               จัดสรางคลองสงน้ําขนาดเล็กเขาสูไรนา และขยายเขตการจัดรูปที่ดิน เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการใชน้ําและการ
               ผลิตสงเสริมการใชน้ําใหเกิดประโยชนสูงสุดและเหมาะสมกับชนิดพืช และจัดหาแหลงน้ําในระดับไรนาและ
               ชุมชนอยางทั่วถึง ขยายการใหบริการน้ําสะอาดเพื่อการอุปโภคบริโภค”

                                     นอกจากนี้นโยบายของรัฐบาลที่แถลงตอรัฐสภาทั้ง 5 คณะ ดังกลาวนี้ มีสวนที่
               สอดคลองกันคือ การบรรเทาอุทกภัยและเตือนภัยแลง สวนนโยบายของรัฐบาลคณะที่ 57 คณะที่ 58 และ
               คณะที่ 59 มีสวนที่สอดคลองกันในเรื่องการพัฒนาระบบชลประทาน การพัฒนาแหลงน้ํา การขุดลอกคูคลอง
               การกระจายน้ํา การบําบัดน้ําเสีย นโยบายที่รัฐบาลคณะที่ 57 และ 58 แถลงแตกตางจากรัฐบาลคณะที่ 56 และ 59
               คือ การชลประทานระบบทอ และรัฐบาลคณะที่ 60 มีนโยบายเพิ่มเติมเรื่องการขยายเขตจัดรูปที่ดิน

                                     สาระสําคัญจากนโยบายของรัฐบาลที่แถลงตอรัฐบาล มีสวนที่สอดคลองกับ
               แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 10 ในเรื่องการพัฒนาแหลงน้ํา การปองกันและบรรเทา
               อุทกภัย การควบคุมและแกไขปญหาคุณภาพน้ํา แตไมมีนโยบายเรื่องการอนุรักษพื้นที่ตนน้ําลําธาร


                                     (10.3) สาระสําคัญของนโยบายจากมติคณะรัฐมนตรีและการดําเนินการ
                                     นโยบายจากมติคณะรัฐมนตรีและการดําเนินการ มีสวนที่สอดคลองกับแผนพัฒนา
               เศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 10 ดังนี้
   36   37   38   39   40   41   42   43   44   45   46