Page 36 -
P. 36

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

                                                                                                    16-27




                                     รัฐบาลคณะที่ 54 นรม. : พ.ต.ท ทักษิณ  ชินวัตร (9 ก.พ. 2544 – 30 ก.ย. 2544)

                                     “พัฒนาประสิทธิภาพการบริหารจัดการทรัพยากรน้ําในทุกระดับใหเหมาะสมตอ
               ระบบการผลิตและสอดคลองกับสภาพพื้นที่โดยเนนการมีสวนรวมของประชาชนอยางเต็มที่ ในการฟนฟู
               อนุรักษและพัฒนาพื้นที่ตนน้ําและลุมน้ํา แหลงเก็บกักน้ํา คูคลองสงน้ํา คุณภาพน้ําและชลประทาน ระบบทอ
               รวมทั้งควบคุมดูแลการใชน้ําผิวดินและน้ําใตดินใหเกิดประสิทธิภาพและเปนระบบโดยเฉพาะอยางยิ่งในโครงการ
               พัฒนาแหลงน้ําขนาดใหญ”

                                     สาระสําคัญจากการแถลงนโยบายของคณะรัฐมนตรีตอรัฐสภา นโยบายของรัฐบาล
               คณะที่ 52 คณะที่ 53 และคณะที่ 54 มีความสอดคลองกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 8
               ในเรื่องการพัฒนาการชลประทาน แตไมมีนโยบายเรื่องการเก็บคาน้ําชลประทานจากเกษตรกร รวมทั้งการ

               จัดตั้งกลไกในการบริหารจัดการน้ําโดยมีกฎหมายควบคุมที่กําหนดไวตั้งแตแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 7 และใน
               แผนพัฒนาฯ ฉบับนี้ นอกจากนี้ยังมีความสอดคลองกับนโยบายของรัฐบาลคณะตางๆ ที่ผานมา ในเรื่องการ
               พัฒนาแหลงน้ําและการชลประทาน นโยบายของรัฐบาลคณะที่ 53 และคณะที่ 54 มีความสอดคลองกันใน
               เรื่องการอนุรักษแหลงน้ําและตนน้ํา การควบคุมคุณภาพน้ํา นโยบายที่เพิ่มเติมของรัฐบาลคณะที่ 53 คือการ

               สงเสริมใหมีการรวมทุนของรัฐบาลและเอกชนในการกอสรางระบบน้ําเสียรวม และนโยบายของรัฐบาล
               คณะที่ 54 ใหมีการชลประทานระบบทอ และเนนการบริหารจัดการ ซึ่งนําไปสูการจัดตั้งกรมทรัพยากรน้ํา
               และกรมทรัพยากรน้ําบาดาลในป 2545

                                     (8.3) นโยบายจากมติคณะรัฐมนตรีและการดําเนินการ มีความสอดคลองกับ

               แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับนี้มีสวนที่เชื่อมโยงกับแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ผานมา คือ การพัฒนา
               แหลงน้ําและการชลประทาน มีการกอสรางเขื่อนขนาดใหญ 2 แหง คือ (1) อางเก็บน้ําประแสร และ (2)
               เขื่อนขุนดานปราการชล เรื่องคุณภาพน้ํามีการจัดตั้งองคการน้ําเสีย มีการแตงตั้งคณะกรรมการทรัพยากรน้ํา

               แหงชาติ  และคณะกรรมการลุมน้ําแมปงตอนบนและลุมน้ําแมปงตอนลาง อนุกรรมการจัดตั้งองคกรบริหาร
               จัดการน้ําในลุมน้ําเจาพระยา มีการเสนอรางพระราชบัญญัติทรัพยากรน้ํา พ.ศ. .... ที่เสนอโดยคณะกรรมการ
               ทรัพยากรน้ําแหงชาติ ในป พ.ศ. 2540 และอีกฉบับหนึ่ง เสนอโดย สภาผูแทนราษฎร ในป พ.ศ. 2542 โดยราง
               ฉบับนี้เสนอใหจัดตั้ง “กระทรวงทรัพยากรน้ํา”     แตไมมีผลในทางปฏิบัติทั้ง 2 ฉบับ ในป 2542

               คณะรัฐมนตรีไดมีมติเห็นชอบการกูเงินเพื่อปรับโครงสรางภาคเกษตรจากธนาคารพัฒนาแหงเอเชีย ซึ่งมีสวน
               ที่เกี่ยวของกับการเก็บคาน้ํารวมอยูดวย แตมีการคัดคานจากนักการเมือง และเกษตรกรจึงไดตัดขอความเรื่อง
               เก็บคาน้ําออกในเวลาตอมา
                                     สวนนโยบายและการดําเนินการของคณะรัฐมนตรีกับนโยบายของคณะรัฐมนตรีที่

               แถลงตอรัฐสภานั้น มีความสอดคลองในเรื่องการพัฒนาแหลงน้ําและการชลประทาน การอนุรักษคุณภาพน้ํา
               และการแกไขคุณภาพน้ํา แตไมมีการดําเนินการเรื่องสงเสริมใหมีการรวมทุนของรัฐและเอกชนในการกอสราง
               ระบบน้ําเสียรวมตามนโยบายของรัฐบาลคณะที่ 53
                                     ในชวงรัฐบาลคณะที่ 52 และคณะที่ 53 ไดมีความพยายามแกไขปญหาการตอตาน

               การพัฒนาแหลงน้ําขนาดใหญ โดยแตงตั้งคณะกรรมการขึ้นติดตามเขื่อนที่ยังไมไดกอสราง 4 เขื่อน คือ เขื่อน
               แกงเสือเตน เขื่อนรับรอ เขื่อนลําโดมใหญ และเขื่อนโปรงขุนเพชร ขึ้นดําเนินการ รัฐบาลไดแกไขปญหาให
               ราษฎรที่ไดรับผลกระทบจากการสรางเขื่อนสิรินธร (เขื่อนลําโดมนอย) ซึ่งเกิดจากการที่ไดรับที่ดินที่ไม
               เหมาะสมตอการเกษตร   โดยมีหลักการวาถาหาที่ดินที่เหมาะสมตอการเกษตรใหไมได ใหจายเปนคาชดเชย

               ไรละ 32,000 บาท
   31   32   33   34   35   36   37   38   39   40   41