Page 35 -
P. 35
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
16-26
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 8 ไดรายงานถึงปญหาการใชทรัพยากรธรรมชาติ
ในภาพรวมไวดังนี้
“การพัฒนาประเทศในระยะที่ผานมาไดมีการนําทรัพยากรธรรมชาติมาใชในการ
ผลิตเพื่อเพิ่มรายไดประชาชาติและยกระดับฐานะความเปนอยูของประชาชน โดยขาดการบริหารจัดการที่เหมาะสม
ซึ่งแนวทางการพัฒนาดังกลาวทําใหเศรษฐกิจโดยรวมของประเทศขยายตัวอยางรวดเร็ว อยางไรก็ดีการใช
ทรัพยากรธรรมชาติอยางไมจํากัด ทําใหทรัพยากรธรรมชาติที่เคยอุดมสมบูรณรอยหรอและเสื่อมโทรมลง มีผล
ตอความมั่นคงทางเศรษฐกิจ สรางปญหาความขัดแยงในสังคมอันเกิดจากการแยงใชประโยชนทรัพยากร และ
เกิดภัยธรรมชาติที่รุนแรงติดตามมา ในขณะเดียวกันการขยายตัวของกิจกรรมทางเศรษฐกิจและชุมชนเมือง
โดยปราศจากการดูแลรักษาสภาวะแวดลอมเทาที่ควร ไดกอใหเกิดปญหามลพิษตางๆ ซึ่งเปนอันตรายตอ
สุขภาพอนามัยของประชาชนเนื่องจากสิ่งแวดลอมมีความสัมพันธอยางใกลชิดตอคนและชุมชนมากที่สุด”
(สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ, 2539: 135)
(8.1) สาระสําคัญของของนโยบายน้ําในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 8
การพัฒนาทรัพยากรน้ําในแผนพัฒนาฉบับที่ 8 ไดเนนการบริหารจัดการทรัพยากรน้ํา
ในระดับลุมน้ําอยางเปนระบบ ทั้งการจัดหาแหลงน้ําเพื่อสนองความตองการของประชาชน การดูแลคุณภาพ
น้ําและมลพิษทางน้ําและการระบายน้ํา โดยดําเนินการ 5 ประการ ดังนี้ (1) ใหมีกลไกในการกํากับ ดูแล
และประสานการพัฒนาทรัพยากรน้ําทั้งในระดับชาติและระดับลุมน้ําโดยมีกฎหมายรองรับ (2) จัดระบบการ
จัดสรรและแบงปนทรัพยากรน้ําระหวางการใชน้ําในกิจการตางๆ อยางเหมาะสม (3) ใหมีการจัดเก็บคาน้ําดิบ
ทั้งเพื่อการอุตสาหกรรม เกษตรกรรม และอุปโภคบริโภค (4) ปรับปรุงระบบสงและจายน้ําเพื่อการชลประทาน
และการอุปโภคบริโภคในชุมชนเพื่อลดการรั่วไหลของน้ํา (5) รณรงคและเผยแพรใหมีการใชน้ําอยางประหยัด
และมีประสิทธิภาพ
นโยบายจากแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 8 มีความตอเนื่องกับ
แผนพัฒนาฯ ฉบับตางๆ ที่ผานมาในการตั้งกลไกในการกํากับ ดูแล และประสานในการบริหารจัดการ
ทรัพยากรในระดับลุมน้ํา การพัฒนาทรัพยากรน้ําทั้งในระดับชาติและระดับลุมน้ํา โดยมีกฎหมายรองรับ การ
เก็บคาน้ําดิบทั้งเพื่อการอุตสาหกรรม เกษตรกรรม และอุปโภคบริโภค โดยเฉพาะการเก็บคาน้ําจากเกษตรกร
ซึ่งเริ่มมาตั้งแตแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 1
นโยบายที่เพิ่มเติมในชวงแผนพัฒนาฯ ฉบับนี้ คือการปรับปรุงระบบสงน้ําเพื่อการ
ชลประทาน การจัดสรรน้ําระหวางกิจกรรมตางๆ และการรณรงคใหมีการใชน้ําอยางประหยัด
(8.2) สาระสําคัญของนโยบายน้ําที่คณะรัฐมนตรีแถลงตอรัฐสภา
รัฐบาลคณะที่ 52 นรม. : พลเอก ชวลิต ยงใจยุทธ (25 พ.ย 2549 – 9 พ.ย 2540)
“จัดหาน้ําเพื่อการเกษตรและการอุปโภคบริโภค ใหเพียงพอและทั่วถึงและจัดทํา
แผนแมบทการชลประทานเพื่อวางแผนการจัดหาน้ําใหแกเกษตรกรระยะยาว”
รัฐบาลคณะที่ 53 นรม. : นายชวน หลีกภัย (9 พ.ย. 2540 – 9 ก.พ. 2544)
“เรงรัดพัฒนาระบบชลประทานใหเชื่อมโยงครบตามแมบทที่มีอยู รวมทั้งการ
อนุรักษ ควบคุม ดูแล แหลงน้ํา มิใหเกิดปญหาสิ่งแวดลอม ควบคุมคุณภาพน้ําอยางเครงครัด และบําบัดน้ําเสียกอน
ระบายลงสูลําน้ําธรรมชาติ สงเสริมใหมีการรวมทุนของรัฐและเอกชนในการกอสรางระบบน้ําเสียรวม”