Page 30 -
P. 30

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

                                                                                                    16-21




                                     3. การพัฒนาแหลงน้ําขนาดเล็ก เพื่อสนองความตองการพื้นฐานยังไมทั่วถึง  และ

               คุณภาพน้ําเพื่อการอุปโภค บริโภค ยังไมถูกสุขลักษณะ ประมาณวาในป 2526 ประชาชนในชนบทรอยละ 85
               ไดรับประโยชนจากการพัฒนาแหลงน้ําเพื่อการอุปโภคบริโภค ซึ่งในจํานวนนี้ประมาณรอยละ 15  ไดรับการ
               บริการจากแหลงน้ําที่ถูกสุขลักษณะ นอกจากนี้ในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล มีการใชน้ําบาดาลเพื่อการ
               อุปโภคบริโภคและอุตสาหกรรมในปริมาณที่มาก จนทําใหระดับน้ําบาดาลลดลงปละ 2-4 เมตร และกอใหเกิด
               ปญหาแผนดินทรุดในบางพื้นที่เปนอัตราสูงถึง 10 เซนติเมตรตอป”  (สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการ

               เศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ, 2529: 120-121)

                                     (6.1) สาระสําคัญของนโยบายน้ําในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 6
                                     การพัฒนาแหลงน้ําในชวงแผนพัฒนาฯ ฉบับนี้ มีนโยบายและมาตรการ 6 ประการ

               คือ (1) สนับสนุนใหมีการประสานการพัฒนาแหลงน้ําอยางเปนระบบลุมน้ํา (2) สนับสนุนใหเกิดการปรับปรุง
               ประสิทธิภาพโครงการแหลงน้ําขนาดใหญและขนาดกลาง (3) สนับสนุนการพัฒนาแหลงน้ําขนาดเล็กเพื่อการ
               ยังชีพขั้นพื้นฐานใหกระจายอยางทั่วถึง รวมทั้งการพัฒนาแหลงน้ําใตดินในบริเวณที่มีศักยภาพ (4) สนับสนุน

               การพัฒนาแหลงน้ําในบริเวณทรัพยากรแหลงน้ําที่เสื่อมโทรม (5) สนับสนุนใหองคกรราษฎร เขามามีสวนรวม
               ในการบริหารจัดการโครงการแหลงน้ํา และ (6)  สนับสนุนใหมีการพัฒนาระบบขอมูลทรัพยากรแหลงน้ําให
               เปนมาตรฐานเดียวกัน
                                     นโยบายน้ําในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับนี้ไดปรับเปลี่ยนแนวคิด
               การวางแผนในการพัฒนา ซึ่งเกิดจากปญหาความขัดแยงในการพัฒนาทรัพยากรน้ํา นโยบายที่มีสวนที่

               ตอเนื่องจากแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 3 เปนตนมา คือ การพัฒนาแหลงน้ําขนาดเล็ก และการพัฒนาน้ําบาดาล
               การพัฒนาอยางเปนระบบลุมน้ํา เพิ่มประสิทธิภาพโครงการแหลงน้ําขนาดใหญและขนาดกลาง นโยบายที่
               เพิ่มเติมคือ สนับสนุนใหองคกรราษฎรเขามามีสวนรวมในการพัฒนา และการพัฒนาระบบขอมูลทรัพยากรน้ํา

               ใหเปนมาตรฐานเดียวกัน

                                     (6.2) สาระสําคัญของนโยบายน้ําที่คณะรัฐมนตรีแถลงตอรัฐสภา
                                     รัฐบาลคณะที่ 45 นรม. : พลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ (4 ส.ค 2531 – 9 ธ.ค 2533)

                                     “ปรับปรุงระบบการบริหารและการจัดการแหลงน้ํา รวมทั้งการอนุรักษ”

                                     รัฐบาลคณะที่ 46 นรม. : พลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ (9 ธ.ค  2533 – 23 ก.พ  2534)
                                     “ดําเนินการพัฒนาแหลงน้ําเพื่อการเกษตร โดยเนนการขุดลอก คลองหนองและบึง
               ธรรมชาติ เพื่อใหสามารถปลูกพืชในฤดูแลงได”


                                     รัฐบาลคณะที่ 47 นรม. : นายอานันท ปนยารชุน (9 มี.ค  2534 – 4 เม.ย 2535)
                                     “บรรเทาความเดือดรอนของราษฎรอันเนื่องมาจากฝนแลง โดยการจัดสรรน้ําใหมี
               ประสิทธิภาพ ซึ่งรวมถึงการจัดน้ํากิน น้ําใช และน้ําเพื่อการเกษตรกรรม”

                                     สาระสําคัญจากการแถลงนโยบายของคณะรัฐมนตรีตอรัฐสภา ของคณะที่ 45
               ไดเนนการปรับปรุงระบบการบริหารและการจัดการแหลงน้ํา และการอนุรักษ สวนนโยบายของคณะที่ 46
               และคณะที่ 47 เปนการพัฒนาแหลงน้ํา รวมทั้งการบรรเทาความเดือดรอนของราษฎรอันเนื่องจากความแหง
               แลง ซึ่งมีความสอดคลองกับนโยบายของรัฐบาลคณะตางๆ ในชวงที่ผานมา ที่เนนถึงการจัดหาน้ําและการ
   25   26   27   28   29   30   31   32   33   34   35