Page 27 -
P. 27
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
16-18
นโยบายที่รัฐบาลคณะที่ 38 คณะที่ 39 คณะที่ 40 และคณะที่ 41 แถลงตอรัฐสภา ได
เนนการพัฒนาการชลประทานและแหลงน้ํา ซึ่งสอดคลองกับนโยบายของรัฐบาลคณะตางๆ ที่ผานมา และ
สอดคลองกับนโยบายที่กําหนดไวในแผนพัฒนาฯ ทุกฉบับที่ผานมา สวนนโยบายของรัฐบาลคณะที่ 42 นั้น
ไดเนนการแกไขปญหาความแหงแลง ซึ่งมีสาเหตุจากวิกฤติภัยแลงอยางรุนแรงที่เกิดขึ้น ในป พ.ศ. 2523
(4.3) สาระสําคัญของนโยบายจากมติคณะรัฐมนตรีและการดําเนินการ
ในชวงแผนพัฒนาฯ ฉบับนี้ นอกจากมีการพัฒนาแหลงน้ําขนาดใหญและขนาด
กลางอยางตอเนื่องแลว ไดเริ่มการกอสรางแหลงน้ําขนาดเล็ก โดยเฉพาะในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ รวมทั้ง
มีการพัฒนาแหลงน้ําธรรมชาติขนาดใหญ เชน บึงบอระเพ็ด กวานพะเยา และหนองหาน การพัฒนาน้ํา
บาดาล เชนโครงการพัฒนาน้ําใตดินเพื่อการเกษตรจังหวัดสุโขทัย ดําเนินการสูบน้ําดวยไฟฟาเพื่อการเกษตร การ
จัดหาน้ําเพื่ออุตสาหกรรม จังหวัดสมุทรปราการ การแกไขคุณภาพน้ําในแมน้ําแมกลอง ในเขตจังหวัดราชบุรี
และกาญจนบุรี เริ่มตนใหมีการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดลอมในโครงการอางเก็บน้ําที่มีขนาด 15 ตาราง
กิโลเมตรขึ้นไปหรือโครงการชลประทานที่มีพื้นที่ตั้งแต 80,000 ไรขึ้นไป รวมทั้งการพัฒนาการเกษตรในลุม
เจาพระยาตอนบน แมกลองและน้ําอูน มีการเตรียมการและชวยเหลือราษฎรที่ประสบภัยพิบัติจากภัยแลง และ
อุทกภัย ตลอดจนการจัดตั้งคณะกรรมการและศูนยประสานงานและเรงรัดพัฒนาแหลงน้ําขึ้น ในสํานัก
เลขาธิการนายกรัฐมนตรี
มีการกอสรางเขื่อนขนาดใหญ (ความจุ 100 ลาน ลบ.ม ขึ้นไป) ดังนี้ (1) เขื่อนบางลาง
(2) เขื่อนวชิราลงกรณ (3) เขื่อนลํานางรอง (4) เขื่อนลําแซะ (5) อางเก็บน้ําลํามูลบน (6) อางเก็บน้ําแมกวง
(4.4) สรุปความสอดคลองของนโยบายทั้ง 3 แหลง
“นโยบายจากมติคณะรัฐมนตรีและการดําเนินการ มีความสอดคลองกับ
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ และนโยบายที่คณะรัฐมนตรีแถลงตอรัฐสภาทั้ง 4 คณะ ในเรื่องการ
พัฒนาแหลงน้ําและการขยายการชลประทาน การศึกษาผลกระทบสิ่งแวดลอมในการกอสรางอางเก็บน้ําขนาดใหญ
การจัดตั้งคณะกรรมการระดับนโยบาย และจัดตั้งศูนยประสานงานและเรงรัดพัฒนาแหลงน้ํา การแกไข
คุณภาพน้ํา รวมทั้งดําเนินการกอสรางแหลงน้ําขนาดเล็กในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ในชวงแผนพัฒนาฯ ฉบับนี้ ในป พ.ศ. 2523-2524 ไดเกิดภัยแลงสงผลใหปริมาณน้ํา
ในเขื่อนภูมิพลและสิริกิตตนอยมาก และในขณะนั้นแหลงพลังงานไฟฟาที่สําคัญมาจากเขื่อนภูมิพลและสิริกิติ์
คณะรัฐมนตรีจึงไดมีมติหยุดการออกอากาศของโทรทัศนทุกชองในชวงเวลา 18.00-20.00 น. เพื่อ
ประหยัดน้ําจนเหตุการณเขาสูปกติ และไดจัดตั้งศูนยบัญชาการเฉพาะกิจในภาวะฝนแลงขึ้นดําเนินการซึ่งมี
การนํามาปฏิบัติในรัฐบาลคณะตางๆ ในเวลาตอมาเมื่อเกิดปญหาภัยแลง
สวนนโยบายการเก็บคาน้ําจากเกษตรกรนั้น คณะรัฐมนตรีไดมีมติเมื่อวันที่ 6
มกราคม 2524 ใหวางหลักเกณฑการเก็บคาน้ําจากเกษตรกรที่ไดกําหนดไวในแผนพัฒนาการเศรษฐกิจ
แหงชาติ ฉบับที่ 1 แตไมมีผลในทางปฎิบัติในชวงแผนพัฒนาฉบับที่ 1-3”
(5) แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2525-2529)
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2525-2529) อยูในชวงการบริหาร
ของรัฐบาลคณะที่ 43 และคณะที่ 44 ซึ่งมีพลเอกเปรม ติณสูลานนท เปนนายกรัฐมนตรี
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 5 ไดรายงานถึงปญหาการใชแหลงน้ําเพื่อ
การชลประทานไวดังนี้