Page 26 -
P. 26

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

                                                                                                    16-17




                                     6. การใชน้ําอยางไมประหยัด ขณะที่ประชากรบางสวนมีน้ํากินน้ําใชอยางอุดม

               สมบูรณและใชน้ําอยางประหยัด ก็มีประชากรอีกเปนจํานวนมากที่อยูในชนบทมีปญหาขาดแคลนน้ําอยางรุนแรง
               ทําใหเกิดปญหาชองวางที่จําเปนตองมีแนวทางและมาตรการแกไขอยางรีบดวน”  (สํานักงานคณะกรรมการ
               พัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ, 2519: 168-169)

                                     (4.1) สาระสําคัญของนโยบายน้ําในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 4

                                            1. ใหความสําคัญตอการผลิตทางการเกษตร โดยการพัฒนาโครงการ
               เจาพระยาตอนบน และการชลประทานในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
                                            2. มีการกําหนดมาตรการใหมีหนวยงานกลางในระดับสูง เพื่อจัดทํา
               แผนพัฒนาแหลงน้ํา ทั้งการศึกษา รวบรวมขอมูลเกี่ยวกับแหลงน้ํา วางแผนการใช การพัฒนา คัดเลือกและ

               จัดลําดับความสําคัญของโครงการวางแผนควบคุมการใช
                                            3. ปรับปรุงกฎหมายเพื่ออนุรักษทรัพยากรแหลงน้ําตามลุมน้ําตางๆ
               กอนดําเนินการใหศึกษาผลกระทบตอสิ่งแวดลอมของโครงการกอสราง

                                            4. ศึกษาและสํารวจเพื่อวางแผนการบรรเทาอุทกภัย
                                            5. วางแผนการชวยเหลือเกษตรกรที่ขาดแคลนน้ําในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
                                            นโยบายที่กําหนดในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 4
               ยังคงมีความเชื่อมโยงกับแผนพัฒนา ฉบับที่ 1-3 ในดานการชลประทาน โดยเฉพาะในโครงการเจาพระยา
               ตอนบนและในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ นโยบายที่กําหนดเพิ่มเติมคือ การกําหนดใหมีหนวยงานกลางใน

               ระดับสูง เพื่อจัดทําแผนพัฒนาแหลงน้ํา รวมทั้งการปรับปรุงกฎหมายเพื่ออนุรักษทรัพยากรแหลงน้ํา จัดลําดับ
               ความสําคัญในการคัดเลือกโครงการที่จะดําเนินการ รวมทั้งการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดลอมจากการดําเนิน
               โครงการ และการสํารวจเพื่อวางแผนบรรเทาอุทกภัย


                                     (4.2) สาระสําคัญของนโยบายน้ําที่คณะรัฐมนตรีแถลงตอรัฐสภา
                                     รัฐบาลคณะที่ 39 นรม. : นาย ธานินทร กรัยวิเชียร (22 ต.ค 2519 – 19 ต.ค 2520)
                                     “จัดใหมีชลประทานขนาดเล็กใหทั่วถึงทุกทองที่”

                                     รัฐบาลคณะที่ 40 นรม. : พลเอกเกรียงศักดิ์ ชมะนันท (11 พ.ย 2520 -12 พ.ค 2522)
                                     “เรงรัดพัฒนางานชลประทานและแหลงน้ํา”

                                     รัฐบาลคณะที่ 41 นรม. : พลเอกเกรียงศักดิ์  ชมะนันทน (12 พ.ย 2522 -29 ก.พ 2523
                                     “เรงรัดพัฒนาแหลงน้ําทุกขนาดในพื้นที่เพาะปลูกที่แหงแลง โดยเฉพาะในภาค

               ตะวันออกเฉียงเหนือ เนนหนักโครงการชลประทานขนาดเล็กที่จะถึงมือประชาชนโดยตรงรวมทั้งการปองกัน
               น้ําทวม ตลอดจนการอนุรักษแหลงน้ําตางๆ ใหรักษาไวไดเปนการถาวร”

                                     รัฐบาลคณะที่ 42 นรม. : พลเอก เปรม ติณสูลานนท (3 มี.ค 2523 – 30 ก.ย 2524)

                                     “แกไขปญหาความแหงแลงโดยการปรับแผนการปลอยน้ําจากเขื่อน ระดมการใช
               เครื่องสูบน้ําจากแมน้ําใหญทุกสาย ทําฝนเทียม ควบคูไปกับการสรางอาง หรือ แหลงเก็บน้ําอยางรวดเร็ว”
   21   22   23   24   25   26   27   28   29   30   31