Page 29 -
P. 29

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

                                                                                                    16-20




                                     สาระสําคัญจากการแถลงนโยบายของคณะรัฐมนตรีตอรัฐสภา ทั้งรัฐบาลคณะที่

               43 และคณะที่ 44 ไดสอดคลองกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 5 ทั้งการพัฒนาแหลงน้ําใน
               ระดับไรนา และการจัดการทรัพยากรน้ําควบคูไปกับการอนุรักษ

                                     (5.3) สาระสําคัญของนโยบายจากมติคณะรัฐมนตรีและการดําเนินการ
                                     มีการพัฒนาแหลงน้ําขนาดใหญ ขนาดกลางและขนาดเล็กอยางตอเนื่อง มีการ

               จัดตั้งงบประมาณบํารุงรักษาโครงการพัฒนาแหลงน้ําขนาดเล็ก มีการพัฒนาน้ําใตดินที่จังหวัดสุโขทัย แตไดมี
               การประกาศเขตควบคุมวิกฤติน้ําบาดาลและแผนดินทรุด ในพื้นที่ 4 จังหวัด คือ กรุงเทพมหานคร นนทบุรี
               ปทุมธานี และสมุทรปราการ เนื่องจากมีน้ําประปาเขาไมถึง มีการโอนกิจการประปาขององคการบริหารสวน
               จังหวัด เทศบาล สุขาภิบาล ไปสังกัดการประปาสวนภูมิภาค จัดหาน้ําเพื่อการอุตสาหกรรมบริเวณถนนปูเจา

               สมิงพรายและนิคมอุตสาหกรรมบางปู มีการกูเงินจากตางประเทศเพื่อพัฒนาโครงการเกษตรชลประทานน้ําพอง
               ระยะที่ 2 มีการชวยเหลือผูประสบภัยแลงและอุทกภัย เริ่มตนการกําหนดชั้นคุณภาพลุมน้ําในลุมน้ํา ปง-วัง
               รวมทั้งการจัดตั้งคณะกรรมการแหลงน้ําแหงชาติ

                                     มีการกอสรางเขื่อนขนาดใหญ (ความจุ 100 ลาน ลบ.ม ขึ้นไป) คือ เขื่อนรัชชประภา

                                     (5.4) สรุปความสอดคลองของนโยบายทั้ง 3 แหลง
                                     “นโยบายจากมติคณะรัฐมนตรีและการดําเนินการ มีความสอดคลองกับ
               แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 5 และนโยบายที่คณะรัฐมนตรีแถลงตอรัฐสภาทั้ง 2 คณะ ใน

               เรื่องการพัฒนาแหลงน้ําและการชลประทานเพื่อการอุปโภคบริโภค อุตสาหกรรม และการอนุรักษแหลงน้ํา
               การจัดตั้งองคกรการบริหารจัดการทรัพยากรน้ํา โดยจัดตั้งคณะกรรมการแหลงน้ําแหงชาติ มีการกําหนดชั้น
               คุณภาพลุมน้ําของแมน้ําปงและวัง ตามที่ไดกําหนดไวในแผนพัฒนาฉบับที่ 3 มีการเรงรัดการพัฒนาแหลงน้ํา
               ขนาดเล็ก ไดเริ่มจัดตั้งโครงการผันน้ําจากแมน้ําโขงเขาสูภาคตะวันออกเฉียงเหนือ รวมทั้งการประกาศทางน้ํา

               ชลประทานที่จะเรียกเก็บคาน้ําชลประทาน
                                     นโยบายที่ไมสามารถดําเนินการไดคือการเก็บคาน้ําจากเกษตรกร และการกอสราง
               โครงการโรงไฟฟาพลังน้ําแควใหญตอนบน (เขื่อนน้ําโจน)”

                              (6) นโยบายน้ําในชวงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับที่ 6 (พ.ศ. 2530 – 2534)
                              แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับที่ 6 (พ.ศ. 2530 – 2535) อยูในชวงการ
               บริหารของรัฐบาลรวม 4 คณะ คือ รัฐบาลคณะที่ 44 มีพลเอกเปรม ติณสูลานนท เปนนายกรัฐมนตรี รัฐบาล
               คณะที่ 45 และ 46 มีพลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ เปนนายกรัฐมนตรี และรัฐบาลคณะที่ 47 ที่มีนาย

               อานันท ปนยาระชุน เปนนายกรัฐมนตรี
                             แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 6 ไดสรุปปญหาการพัฒนาแหลงน้ําไวดังนี้
                                     “1. ความตองการใชน้ําเพื่อการอุปโภคบริโภคและการเกษตรไดเพิ่มขึ้นมากซึ่งเปน
               ผลมาจากการขยายตัวของจํานวนประชากร ทําใหเกิดการขาดแคลนน้ําและเกิดความขัดแยงระหวางผูใชน้ํา

               เพื่อผลประโยชนตางๆ รวมทั้งความขัดแยงดานการพัฒนาและอนุรักษ
                                      2. การพัฒนาแหลงน้ําขนาดใหญ ไดดําเนินการไปในพื้นที่ที่เหมาะสมเปนสวนมากแลว
               แตยังขาดระบบการบริหารและการจัดการที่มีประสิทธิภาพ ตลอดจนโครงการตอเนื่องที่เหมาะสม ทําใหมีการ

               ใชประโยชนน้ําที่จัดสรรเพื่อการเกษตรของโครงการชลประทานขนาดใหญเพียงรอยละ 15 ทั้งๆ ที่ควรจะใชได
               ตามศักยภาพในปริมาณรอยละ 60-70 ของปริมาณน้ําที่จัดสรรเพื่อการนี้
   24   25   26   27   28   29   30   31   32   33   34