Page 28 -
P. 28

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

                                                                                                    16-19




                                     “ปญหาการใชแหลงน้ําเพื่อการชลประทานและการประมง ปรากฏวาเขต

               ชลประทานที่มีอยูประมาณ 16 ลานไร ยังไมไดนํามาใชประโยชนทางการเกษตรอยางเต็มที่ โดยเฉพาะอยางยิ่ง
               เพื่อการเพาะปลูกครั้งที่สอง เนื่องจากระบบการสงน้ํายังไมสมบูรณ และขาดการบํารุงรักษาใหอยูในสภาพที่
               ใชการได และการใชน้ําในพื้นที่เขตชลประทานยังไมมีประสิทธิภาพและไมประหยัดเทาที่ควร นอกจากนี้ การ
               บริหารพัฒนาแหลงน้ํายังกระจัดกระจายอยูหลายหนวยราชการ ซึ่งควรจะเปนประเด็นหลักในการพัฒนา
               แหลงน้ําดวย สวนทางดานการประมงนั้น ปรากฏวามีแนวโนมการผลิตลดลงในระยะหลังนี้ สาเหตุมาจากการ

               จับสัตวน้ําทะเลเกินระดับความเหมาะสมตอการขยายพันธุ ซึ่งทําใหแหลงประมงทะเลเสื่อมโทรมลงประการ
               หนึ่ง และจากผลการประกาศเขตเศรษฐกิจจําเพาะ 200 ไมลทะเลของประเทศเพื่อนบานอีกประการหนึ่งที่ได
               จํากัดใหเขตทําการประมงของไทยลดลง ทางแหลงน้ําธรรมชาติที่จะทําประมงน้ําจืดและประมงชายฝงนั้น

               ประสบปญหาความตื้นเขิน ปญหามลพิษซึ่งมีความรุนแรงมากในแมน้ําเจาพระยาและแมน้ําทาจีน และปญหา
               การทําลายแหลงที่อยูอาศัยของสัตวน้ําดวย ฉะนั้น หากไมไดรับการพัฒนาการใชแหลงน้ําเพื่อการเพาะปลูก
               และการประมงใหมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้นแลว จะทําใหแนวโนมการผลิตดานประมงและพืชไมสามารถจะ
               เพิ่มขึ้นไดอยางที่แลวมา” (สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ, 2524: 54)

                                     (5.1) สาระสําคัญของนโยบายน้ําในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 5
                                     การพัฒนาแหลงน้ําในชวงแผนพัฒนาฯ ฉบับนี้ไดเพิ่มประสิทธิภาพการใช
               ทรัพยากรธรรมชาติ โดยกําหนดมาตรการพัฒนาไว 7  ประการ คือ (1)  เรงปรับปรุงและขยายพื้นที่ในเขต
               ชลประทานที่มีอยูเดิม ใหใชประโยชนไดเต็มที่ (2) เรงดําเนินการพัฒนาลุมน้ําที่ยังไมมีการพัฒนามากนักมาใช

               ประโยชนใหมากขึ้น (3)  เรงรัดพัฒนาแหลงน้ําขนาดเล็กใหกระจายออกนอกเขตชลประทาน (4)  สํารวจเพื่อ
               วางแผนผันน้ําจากแมน้ําโขงเขามาเพิ่มเติม (5) ดําเนินการเก็บคาน้ําจากพื้นที่ในเขตชลประทาน 6) ดําเนินการ
               ปรับปรุงโครงสรางองคกรและกลไกการบริหารงานของหนวยราชการที่เกี่ยวของกับการพัฒนาแหลงน้ํา  และ (7)

               อนุรักษและรักษาคุณภาพของแหลงน้ํามิใหเกิดมลพิษ
                                     นโยบายที่กําหนดแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 5  ยังคงมีความ
               เชื่อมโยงกับแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 1 ถึงฉบับที่ 4 เรื่องการพัฒนาแหลงน้ําและการชลประทาน แตเพิ่ม
               ประสิทธิภาพการใชน้ําใหมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น รวมทั้งการผันน้ําจากแมน้ําโขง การเก็บคาน้ําจากพื้นที่ใน

               เขตชลประทาน และการยึดพื้นที่ลุมน้ําเปนหลักในการพัฒนา ตลอดจนการอนุรักษและรักษาคุณภาพแหลงน้ํา
                                     นโยบายที่ตอเนื่องจากแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 4 คือการดําเนินการปรับปรุงโครงสราง
               องคกรและกลไกการบริหารงานของหนวยงานราชการที่เกี่ยวของกับการพัฒนาแหลงน้ํา

                                     (5.2) สาระสําคัญของนโยบายน้ําที่คณะรัฐมนตรีแถลงตอรัฐสภา

                                     รัฐบาลที่ 43 นรม.: พลเอกเปรม  ติณสูลานนท (30 เม.ย 26 – 4 ส.ค 2529)
                                     “ชวยเหลือเกษตรกรในทองที่แหงแลงโดยการจัดหาและพัฒนาแหลงน้ําในระดับไรนา
               อยางกวางขวาง”

                                     รัฐบาลคณะที่ 44 นรม. : พลเอกเปรม ติณสูลานนท (5 ส.ค 2529 -30 ก.ย. 2529)
                                     “ปรับปรุงการบริหารและการจัดการทรัพยากรทรัพยากรที่ดิน น้ํา ปาไม และ
               ประมงใหมีการพัฒนาควบคูไปกับการอนุรักษ”
   23   24   25   26   27   28   29   30   31   32   33