Page 23 -
P. 23

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

                                                                                                    16-14




                              (3) นโยบายน้ําในชวงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 3 (พ.ศ. 2515-2519)

                              แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับที่ 3 (พ.ศ. 2515-2519) อยูในชวงการบริหาร
               ของรัฐบาลรวม 6 คณะ คือรัฐบาลคณะที่ 32 มีจอมพลถนอม กิตติขจร เปนนายกรัฐมนตรี รัฐบาลคณะที่ 33
               และ 34 มีนายสัญญา ธรรมศักดิ์ เปนนายกรัฐมนตรี รัฐบาลคณะที่ 35 มี ม.ร.ว เสนีย ปราโมช เปน
               นายกรัฐมนตรี รัฐบาลคณะที่ 36 มี ม.ร.ว. คึกฤทธิ์ ปราโมช เปนนายกรัฐมนตรี รัฐบาลคณะที่ 37 และ 38
               มี ม.ร.ว เสนีย ปราโมช เปนนายกรัฐมนตรี

                              ในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 3 ไดรายงาน “ถึงปญหาน้ําเพื่อการ
               อุปโภคและบริโภค โดยเฉพาะการประปานครหลวงที่ไมสามารถรองรับการขยายตัวของชุมชนในเขตนครหลวง
               รวมถึงการประปาชนบทที่ปริมาณการผลิตและระบบจําหนายยังไมเพียงพอ ตลอดจนการจัดหาน้ําในชนบทที่

               ยังขาดแคลนในเขตสุขาภิบาลตางๆ รวมทั้งการระบายน้ําฝนและน้ําโสโครกในเขตนครหลวง
                              สวนปญหาในการชลประทานนั้นมีสาเหตุที่การพัฒนาการชลประทานยังไมไดผลสมบูรณ
               อาจเปนเพราะปญหาและอุปสรรคตางๆ ทั้งทางดานของรัฐและเกษตรกรซึ่งอาจประมาณไดดังนี้
                                     1. สถิติทางอุทกวิทยามิไดเก็บไวเพียงพอที่จะใชพิจารณากําหนดโครงการไดโดย

               ละเอียดพอเปนเหตุใหโครงการบางโครงการไมไดผลเต็มที่ตามที่คาดหมายไว
                                     2. การเปลี่ยนแปลงการเกษตรกรรมใชน้ําฝนมาสูระบบการเกษตรชลประทานนั้น
               เกษตรกรสวนใหญยังไมเขาใจวิธีการปฏิบัติเทาที่ควร ทําใหปริมาณน้ําเทาที่ไดมาตองสูญเสียไปเปนอันมาก
                                     3. การสรางโครงการพัฒนาแหลงน้ําในแบบที่เปนเอนกประสงค ซึ่งตองใชน้ําเพื่อ

               การชลประทาน การปองกันอุทกภัย และการผลิตพลังงานไฟฟาพรอมกัน ยอมเปนการแยงกันใชน้ํา
                                     4. นอกจากนั้นการพัฒนาแหลงน้ํายังไมประสานกัน โครงการขนาดใหญที่ตองใช
               เงินมากมีปญหาหลายประการ ทําใหตองขยายเวลาการกอสรางออกไปเปนเวลานานกวาจะเสร็จสมบูรณทํา
               ใหไดผลชาและไมเต็มเม็ดเต็มหนวย” (สํานักงานสภาพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ, 2514: 72-74)


                                     (3.1) สาระสําคัญนโยบายน้ําในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 3
               (พ.ศ. 2515 - 2519)
                                            “1. เนนหนักในการเรงการกอสรางเพิ่มเติมตามโครงการชลประทานตางๆ ใหเสร็จ

               สมบูรณ โดยเฉพาะอยางยิ่งระบบคลองสงน้ํา และคลองระบายน้ําตลอดจนการสรางคันและคูน้ําเพื่อเรงรัดการ
               เพิ่มผลผลิต และการขยายเนื้อที่เพาะปลูก 2  ครั้ง ในเขตชลประทานสําหรับโครงการชลประทานใหมขนาด
               ใหญใหพิจารณารอการกอสรางไวกอน
                                            2.  เรงรัดการพัฒนาแหลงน้ําบาดาลเพื่อการเกษตร การอุปโภคบริโภคในเขตที่

               ขาดแคลนน้ํา
                                            3. เรงรัดการเกษตรชลประทาน โดยใหความสําคัญแกการพัฒนาระบบสงน้ํา
               ใหสมบูรณ
                                            4. การจัดการและการใชน้ํา

                                            5.  การจัดทําแผนแมบท การพัฒนาทรัพยากรน้ํา (Master Plan)  ที่
               พิจารณาลุมน้ําทุกลุมน้ํามาพิจารณาพรอมกัน
                                            6. งานชลประทานราษฎร ตามแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 3 นี้ จะเนนหนักใน

               ดานการชลประทานขนาดเล็ก ซึ่งเปนโครงการที่ใหผลถึงมือเกษตรกรโดยตรงและรวดเร็ว”
   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28