Page 22 -
P. 22

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

                                                                                                    16-13




               ชลประทานหลายแหงซึ่งยังไมสําเร็จ ระบบการสงน้ําในเนื้อที่เหลานี้จึงยังไมสมบูรณ”  (สํานักงานสภา

               พัฒนาการเศรษฐกิจแหงชาติ, 2509: 23)

                                     (2.1) สาระสําคัญของนโยบายน้ําในชวงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม
               แหงชาติ ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2510-2514)
                                            (1) เปนนโยบายที่ตอเนื่องกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจแหงชาติ ฉบับที่ 1 โดย

               เนนหนักการพัฒนาแหลงน้ําเพื่อระบบชลประทาน
                                            (2) โครงการพัฒนาการชลประทาน ที่เริ่มกอสรางในชวงแผนพัฒนาฯ ฉบับนี้
               ไดแก เขื่อนสิริกิติ์ เขื่อนอุตรดิตถ โครงการแมกลองใหญ เขื่อนปราณ เขื่อนกึ๊ด เขื่อนน้ําอูน เขื่อนชีบน
               เขื่อนมูลบน เขื่อนน้ํายัง

                                            (3) โครงการจัดหาน้ําสะอาดในชนบททั่วราชอาณาจักร
                                            (4) โครงการชลประทานราษฎร โครงการกอสรางการชลประทานขนาดเล็ก
                                            นโยบายที่กําหนดในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 2

               มีความเชื่อมโยงในการกอสรางแหลงน้ําขนาดใหญ เพื่อการชลประทานกับแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 1 มีสวนที่
               เพิ่มเติมคือ การจัดหาน้ําอุปโภคบริโภค และการสงเสริมการชลประทานราษฎร แตไมมีการกําหนดนโยบาย
               เรื่องการเก็บคาน้ําชลประทานในแผนพัฒนาฯ ฉบับนี้

                                     (2.2) สาระสําคัญของนโยบายน้ําที่คณะรัฐมนตรีแถลงตอรัฐสภา

                                     รัฐบาลคณะที่ 31 นรม. จอมพลถนอม กิตติขจร (7 มี.ค 2512-16 พ.ย 2514)
                                     “รัฐบาลจะเนนหนักเปนพิเศษ ในงานดานชลประทาน การกอสรางจะจัดหาแหลง
               น้ําเพิ่มขึ้นและสงเสริมใหเกษตรกรรูจักใชน้ําชลประทานใหบังเกิดผลมากที่สุด”

                                     นโยบายจากการแถลงนโยบายของคณะรัฐมนตรีตอรัฐสภาของรัฐบาลคณะที่ 31
               สอดคลองกับนโยบายของคณะที่ 29 คือเปนการขยายการชลประทาน และสอดคลองกับแผนพัฒนาฯ ทั้ง
               ฉบับที่ 1 และฉบับที่ 2

                                     (2.3) สาระสําคัญของนโยบายจากมติคณะรัฐมนตรีและการดําเนินการ
                                     มีการพัฒนาแหลงน้ําขนาดใหญและขนาดกลางอยางตอเนื่องจากแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 1
               รวมทั้งการจัดหาน้ําอุปโภคบริโภค และงานดานการปลูกพืชครั้งที่ 2 ในเขตลุมน้ําเจาพระยา เริ่มตนการแกไข
               ปญหาการระบายน้ําเพื่อปองกันน้ําทวมและระบายน้ําเสียในพระนครและธนบุรี
                                     มีการกอสรางเขื่อนขนาดใหญ (ความจุ 100  ลาน ลบ.ม ขึ้นไป) ในชวงแผนพัฒนาฯ

               ฉบับนี้ 5 แหง ดังนี้  (1) อางเก็บน้ําน้ําอูน (2) อางเก็บน้ําทับเสลา (3) เขื่อนสิรินธร (4) เขื่อนจุฬาภรณ (5)
               อางเก็บน้ําหวยหลวง

                                     (2.4) สรุปความสอดคลองของนโยบายทั้ง 3 แหลง

                                     “นโยบายจากมติคณะรัฐมนตรีและการดําเนินการ มีความสอดคลองกับ
               แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ และนโยบายที่คณะรัฐมนตรีแถลงตอรัฐสภา ทั้งการกอสรางระบบ
               ชลประทาน การจัดหาน้ําอุปโภคและบริโภค และมีนโยบายเพิ่มเติมจากแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 1 ดานการปลูกพืช
               ครั้งที่ 2 ในเขตลุมน้ําเจาพระยา และการแกไขปญหาน้ําเสียและการปองกันน้ําทวมในเขตพระนครและธนบุรี

               อยางไรก็ตามไมมีการดําเนินการเรื่องการเก็บคาน้ําชลประทาน ในแผนพัฒนาฯ ฉบับนี้”
   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27