Page 25 -
P. 25
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
16-16
นโยบายที่เพิ่มเติมของคณะรัฐมนตรีคือเรงรัดการพัฒนาแหลงน้ําบาดาลทั้งเพื่อ
การเกษตร และอุปโภคบริโภค นโยบายที่สําคัญอีกดานหนึ่งก็คือการดําเนินการดานสิ่งแวดลอม โดยเริ่มการ
เรียนการสอนหลักสูตรสิ่งแวดลอมและประกาศใชพระราชบัญญัติสงเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอม
แหงชาติ พ.ศ. 2518”
สวนนโยบายที่กําหนดไวในแผนพัฒนาฉบับที่ 1 ที่ไมไดดําเนินการคือการเก็บคาน้ํา
ชลประทานจากเกษตรกร และนโยบายที่กําหนดไวในแผนพัฒนาฉบับที่ 3 แตไมไดดําเนินการคือ การจัดทํา
แผนแมบท และการพัฒนาทรัพยากรน้ําเปนลุมน้ํา
(4) นโยบายน้ําในชวงแผนพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 4 (พ.ศ. 2520-2524)
แผนพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 4 (พ.ศ. 2520-2524) อยูในชวงการ
บริหารของรัฐบาล 4 คณะ คือรัฐบาลคณะที่ 39 มีนายธานินทร กรัยวิเชียร เปนนายกรัฐมนตรี รัฐบาลที่ 40
และ 41 มีพลเอกเกรียงศักดิ์ ชมะนันท เปนนายกรัฐมนตรี และรัฐบาลคณะที่ 42 มีพลเอกเปรม ติณสูลานนท
เปนนายกรัฐมนตรี
ในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 4 ไดระบุปญหาการพัฒนาแหลงน้ําไว
ดังนี้
“1. ขาดแผนและนโยบายสวนรวมเกี่ยวกับการจัดสรรทรัพยากรแหลงน้ํา ในชวง
ของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของชาติในระยะที่แลวๆ มา ยังมิไดมีการกําหนดนโยบายสวนรวมสําหรับ
การใช การพัฒนา และการบํารุงรักษาแหลงน้ําสําหรับประเทศไวอยางเปนระบบชัดเจน การดําเนินงาน
โครงการพัฒนาแหลงน้ํา จึงกระจายไปในหนวยงานราชการที่เกี่ยวของหลายแหง
2. ขาดการสํารวจแหลงน้ําที่จะนํามาพัฒนาใหเปนประโยชน การวางแผนพัฒนาใน
ปจจุบัน ยังไมมีการสํารวจที่แนนอนถึงปริมาณน้ํา แหลงน้ําทั้งหมดที่มีอยูในประเทศ และปริมาณน้ําที่
ตองการใชในแตละสาขาทั้งในปจจุบันและอนาคต
3. ขาดแนวนโยบายระยะยาวเพื่อแกปญหาความแหงแลงในภาค
ตะวันออกเฉียงเหนือ ซึ่งประสบวิกฤตการณทางธรรมชาติฝนแลงและทิ้งชวงเปนประจําเกือบทุกปมาโดย
ตลอดเปนผลเสียหายแกการเพาะปลูกและสรางความเดือดรอนใหแกชาวนา ชาวไร ในภาคดังกลาว ซึ่งมี
ฐานะทางเศรษฐกิจยากจน และไมมั่นคง การแกปญหาเทาที่รัฐบาลไดดําเนินไปสวนใหญเปนแบบ “ฉุกเฉิน”
เพื่อบรรเทาความเสียหายไปเปนปๆ แตยังขาดมาตรการและแนวทางแกปญหาระยะยาว
4. ความเสื่อมโทรมและเนาเสียของแหลงน้ํา การขาดแผนบํารุงและรักษาแหลงน้ํา
กอใหเกิดปญหาความเสื่อมโทรมและเนาเสียของแหลงน้ําโดยทั่วไป โดยเฉพาะอยางยิ่งตามยานชุมชนและ
แหลงอุตสาหกรรมตางๆ ทั้งนี้ เนื่องจากการขยายตัวของเศรษฐกิจและจํานวนประชากรที่ใชน้ํามีปริมาณเพิ่ม
มากขึ้น กอใหเกิดปญหาแหลงน้ําผิวดิน และแหลงน้ําใตดินซึ่งบางแหงมีการสูบน้ําขึ้นมากจนเกิดการเสียดุล
ทางธรรมชาติ
5. ขาดมาตรการควบคุมการขยายตัวของเมืองและอุตสาหกรรมใหสอดคลองกับ
ขีดจํากัดของการพัฒนาแหลงน้ํา ขาดการวางมาตรการจํากัดการขยายตัวของเมืองและอุตสาหกรรมในแตละเขต
ใหสอดคลองกับขีดจํากัดของแหลงน้ําที่มีอยูในแตละอาณาบริเวณ เพื่อลดปญหาการขาดแคลนน้ําที่จะเกิดขึ้น
ในอนาคต