Page 21 -
P. 21

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

                                                                                                    16-12




                                     (1.1) สาระสําคัญของนโยบายน้ําในแผนพัฒนาเศรษฐกิจแหงชาติ ฉบับที่ 1 คือ

                                            (1) เพิ่มปริมาณการผลิตดานการเกษตรโดยการขยายการชลประทาน
                                            (2) ใหเนนการดําเนินการโครงการชลประทานเจาพระยาใหญและเขื่อนภูมิพล
               ใหแลวเสร็จในชวง 3 ปแรก (2504-2506)
                                            (3) ในชวง 3 ปหลัง (2507-2509) เริ่มโครงการแมแตง โครงการ
               กําแพงเพชร โครงการลุมน้ําตะวันตก โครงการแมกลองใหญ โครงการเสาธง โครงการลําปาว โครงการลําพระเพลิง

               โครงการคันและคูน้ํา
                                            (4) เมื่อกอสรางตามโครงการชลประทานไดผลบริบูรณ ควรใหมีการเก็บคาน้ํา
               จากเกษตรกร

                                      (1.2) สาระสําคัญของนโยบายน้ําที่คณะรัฐมนตรีแถลงตอรัฐสภา
                                     รัฐบาลคณะที่ 29 นรม. จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัฐต (9 ก.พ. 2502 – 8 ธ.ค. 2506)
                                     ในการแถลงตอรัฐสภาไมมีสวนที่เกี่ยวกับนโยบายน้ํา แตมีในคําปรารภของ
               จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต นายกรัฐมนตรี ในเอกสาร “โครงการพัฒนาการของรัฐสําหรับประเทศไทย” ซึ่งเปน

               รายงานการสํารวจของธนาคารโลก ไววาพยายามจะทําทุกทางที่จะพัฒนาใหประชาชนของประเทศไทยอยูดีกินดี
               ในเอกสารฉบับนี้ไดเนนความสําคัญของการชลประทานตอการพัฒนาประเทศโดยเฉพาะดานการเกษตร
                                     รัฐบาลคณะที่ 30 นรม. จอมพลถนอม  กิตติขจร (9 ธ.ค. 2506 – 7 มี.ค. 2512)
                                     “รัฐบาลจะดําเนินการพัฒนาประเทศในกิจการอันเปนสาขาที่มีความสําคัญ คือ

               การชลประทาน”

                                     (1.3) สาระสําคัญของนโยบายจากมติคณะรัฐมนตรีและการดําเนินการ
                                     เปนการจัดหาโครงสรางพื้นฐานดานแหลงน้ําโดยการกอสรางแหลงน้ําขนาดใหญ

               และขนาดกลาง จัดหาน้ําอุปโภคบริโภค ทั้งในชนบทและพระนครและธนบุรี มีการกูเงินจากธนาคารโลกเพื่อ
               พัฒนาการเกษตรและการชลประทานในพื้นที่ภาคกลาง รวมทั้งมีการเสนอใหเก็บคาน้ําชลประทานมีการ
               กอสรางเขื่อนขนาดใหญ (ความจุ 100  ลาน ลบ.ม ขึ้นไป) ดังนี้  (1)  เขื่อนภูมิพล (2)  เขื่อนสิริกิติ์ (3)  เขื่อน
               บางพระ (4)  เขื่อนลําปาว (5)  เขื่อนอุบลรัตน (6)  เขื่อนน้ําพุง (7)  อางเก็บน้ําลําตะคอง (8)  เขื่อนกิ่วลม (9)

               อางเก็บน้ํากระเสียว  (10)  อางเก็บน้ําลําพระเพลิง มีการกูเงินจากธนาคารโลกสําหรับโครงการแกงกระจาน
               และมีการเปดเขื่อนภูมิพลในป 2507

                                     (1.4) สรุปผลจากนโยบาย
                                     “มีความสอดคลองและเชื่อมโยงระหวางนโยบายทั้ง 3 แหลง โดยเฉพาะการ

               กอสรางอางเก็บน้ําขนาดใหญ เพื่อการชลประทาน ยกเวนการเก็บคาน้ําชลประทานที่ยังมิไดดําเนินการ”

                              (2) นโยบายน้ําไทยในชวงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2510-2514)
                              แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2510-2514) อยูในชวงการบริหาร

               ของรัฐบาลคณะที่ 30 และ 31 ซึ่งมีจอมพลถนอม กิตติขจร เปนนายกรัฐมนตรี
                              ในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับที่ 2 ไดรายงานปญหาการดําเนินงานดาน
               ชลประทานไววา “การดําเนินงานพัฒนาดานชลประทานในระยะของแผนพัฒนาฉบับแรกไดบรรลุผล

               โดยทั่วไปตามเปาหมาย แตงานกอสรางบางโครงการตองประสบปญหาเกี่ยวกับการลาชาในการกูเงิน ปญหา
               เวนคืนที่ดิน การอพยพราษฎรออกจากบริเวณน้ําทวมเหนือเขื่อนและการขุดคลองสงน้ําในเขตโครงการ
   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26